ระบบโฟโตโวลตาอิก

Photovoltaic System

1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดพลังงานแสงอาทิตย์ และการวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์
1.2.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานและองค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์แสงอาทิตย์
1.3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับหลักการทำงานและองค์ประกอบพื้นฐานของตัวรับรังสีอาทิตย์แบบต่างๆ
1.4.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการปฏิบัติการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้
1.5.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
       เพื่อให้เนื้อหาในบางบทมีความทันสมัยเพิ่มขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ทฤษฎีเบื้องต้นของดวงอาทิตย์ โครงสร้างของเซลล์แสงอาทิตย์ วงจรสมมูล ฟิลล์แฟคเตอร์และประสิทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ ลักษณะกระแส – แรงดัน สมบัติของการต่อเซลล์ เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ มาตรฐานและการทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ประกอบระบบโฟโตโวลตาอิก การประยุกต์ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ การออกแบบระบบโฟโตโวลตาอิก ระบบผลิตไฟฟ้าอิสระ ระบบผลิตไฟฟ้าบนหลังคา ระบบโรงไฟฟ้า ระบบสูบน้ำ การวิเคราะห์ระบบและประเมินราคาของระบบเซลล์แสงอาทิตย์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในวิชาชิพวิศวกรรม โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อระบบ

 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติบรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการและระบบไฟฟ้ากำลัง พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบด้วยสื่อการสอนต่าง ๆ เช่น ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว

อธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ สร้างสถานการณ์เพื่อให้มีการอภิปรายและถกปัญหา
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
           2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริง
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎี เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล หรือกรณีศึกษา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1   แสดงความคิดเห็นประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียน 3.2 วิธีการสอน
   3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำการค้นคว้าเนื้อหาที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอผลงาน
   3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
   3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา 
 
3.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินผลจากการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
3.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินผลจากการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
4.1.1   สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2   สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.1.3  สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง สังคม และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
 4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำ งาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 บทที่ 1-3 บทที่ 4-6 บทที่ 7-9 บทที่ 10-12 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 7 11 15 10% 20% 10% 20% 2 บทที่ 1-9 แบบฝึกหัด การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 บทที่ 1-9 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
สมชาย สุวราวรรณ. เซลล์แสงอาทิตย์และการประยุกต์พลังงานแสงอาทิตย์ คณะวิทยาศาสตร์
     มหาวิทยาลัยนเรศวร 

สมชาย กฤตพลวิวัฒน์ . พลังงานแสงอาทิตย์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ศิรินุช จินดารักษ์ . เทคโนโลยีพลังงาน, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ