ศิลปะภาพพิมพ์ 3

Printmaking 3

1.1 รู้ความหมายและแนวความคิดของงานภาพพิมพ์หิน(Lithograph)
2. 2 เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้านรูปแบบและเทคนิควิธีการของศิลปะภาพพิมพ์หิน
3. 3 สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานสร้างสรรค์ในงาน ภาพพิมพ์หิน
4.4 สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานภาพพิมพ์หินในแต่ละเทคนิคทางกระบวนการภาพพิมพ์หิน
4.5 เห็นคุณค่าของผลงานภาพพิมพ์หิน สามารถสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์หินในแนวทางของตนเองและสามารถใช้ในการประกอบอาชีพได้
2.1 นักศึกษามีความรู้ในด้านแนวความคิด เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน
2.2 นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงาน ในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน ในแต่ละประเภทของเทคนิคได้
2.3 สามรถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบ และแนวความคิดของศิลปินในงานภาพพิมพ์หิน
2.4 นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์หิน เพื่อประโยชน์ใช้สอยและประกอบอาชีพในชีวิตของตนเองได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ โดยนำกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน และกลวิธีทางภาพพิมพ์ นำมาประยุกต์ผสมผสานกันเพื่อให้เกิดความงามและประโยชน์ใช้สอยพร้อมมีคุณค่าทางด้านศิลปกรรม
4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีความรักในวิชาเรียน รักที่จะฝึกฝนค้นคว้าตามกระบวนการของวิชาศิลปะภาพพิมพ์3 (ภาพพิมพ์หิน) มีการศึกษาค้นคว้าให้ประสบผลสำเร็จโดยความเพียร มีความซื่อสัตย์ สามารถศึกษาในรายวิชาร่วมกันด้วยความรักความสามัคคี
1.2.1 ให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบรายบุคคล ได้ทดลองบรรยายเชิงวิชาการได้มีการกำหนดเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน ในแต่ละทุกประเภทได้
1.2.2  ต้องเข้าชั้นเรียนเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
1.2.3 นักศึกษาต้องมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
1.2.4 นักศึกษาต้องค้นคว้าและเรียนรู้ความคิด เทคนิคใหม่ๆนอกเหนือจากที่อาจารย์สอน เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์ที่มีคุณค่าและก่อให้เกินแรงบัลดาลใจในการทำงานศิลปะ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้สมบูรณ์ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานมาวิเคราะห์เป็นกรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่มที่สำเร็จและนำเสนอเป็นรายงานตามที่มอบหมาย
2.1.1 นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายเกี่ยวกับทัศนศิลป์ในงานภาพพิมพ์หิน
2.1.2 นักศึกษามีความรู้จากการค้นคว้าและบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์วิชาศิลปะภาพพิมพ์3 (ภาพพิมพ์หิน)
2.1.3 มีความรู้ทางด้านทัศนะธาตุต่างๆ ในงานภาพพิมพ์หินผ่านเทคนิควิธีการ
ของการประดิษฐ์ การทดลองใช้วัสดุต่างๆ
2.1.4 มีความรู้ในเรื่องของ แนวความคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ งานภาพพิมพ์หิน ทั้งในโลกตะวันตกแลในเอเชีย
2.1.5 นักศึกษาสามารถประยุกต์ไปใช้ต่อในการสร้างงานเพื่อประโยชน์ใช้สอย และสามารถพัฒนาต่อไปสู่การประกอบอาชีพได้
2.2.1 ให้ความรู้กับนักศึกษาในเชิงทฤษฏี เป็นการเกริ่นนำในเรื่องความสำคัญ และความหมายของทัศนศิลป์ในงานวิชาศิลปะภาพพิมพ์3 (ภาพพิมพ์หิน)
2.2.2 บรรยายผ่านสื่อสาระสนเทศ โดยมีเนื้อหาแนวคิด พร้อมภาพประกอบ เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์หินของศิลปินจากต่างประเทศและภายในประเทศสู่งานภาพพิมพ์หิน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ทดลอง คิดค้นงานภาพพิมพ์หิน โดยได้กำหนดแผนการสอนผ่านหัวข้อต่างๆเช่น การทดลองเทคนิคต่างๆของกระบวนการภาพพิมพ์หิน เช่น ทูช (แท่งไขจากสัตว์) การเขียนเส้น วิธีการลงน้ำหนักต่างๆ
2.2.4 วิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การเข้าบริบททางสังคมส่งผลต่อแนวความคิดและรูปแบบ ในงานศิลปะร่วมสมัยของงานภาพพิมพ์หิน
- ประเมินจากผลงานในแต่ละหัวข้อรวมไปถึงการพูดบรรยายหน้าห้องเรียนเกี่ยวกับแนวความคิด โดยกำหนดหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวกับภาพพิมพ์หิน 2.3.1 ประเมินจากการวิเคราะห์ผลงานศิลปะของศิลปินในยุคสมัยใหม่ มีความรู้เกี่ยวกับแนวความคิด รูปแบบและเทคนิค วิธีการที่นำเสนอของานภาพพิมพ์หินได้ 2.3.2 ประเมินทางด้านความขยันและรับผิดชอบ ส่งงานตามกำหนดเวลา
2.3.3 ประเมินจากผลคะแนนในแต่ละชิ้นงาน ผลงานสอบกลางภาค และปลายภาค
2.3.4 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเรียน วิพากษ์ วิจารณ์ และการเข้าชั้นเรียน
3.1.1 นักศึกษาต้องมีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายและความสำคัญเกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน
3.1.2 นักศึกษาต้องมีความสามารถวิเคราะห์การแสดงออกของศิลปินภาพพิมพ์หิน มีความเข้าใจในกระบวนการภาพพิมพ์หินรวมไปถึงการแทนค่าในเชิงสัญลักษณ์ในงานภาพพิมพ์หินแต่ประเภทและนำเสนอผ่านผลงานอันหลากหลาย
3.1.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อพัฒนาไปใช้ประโยชน์ในการลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์หินของตนอย่างเป็นเฉพาะตัว
       3.2.1 กำหนดให้นักศึกษาได้มีทักษะในการปฏิบัติและสามารถวิเคราะห์ผลงานเกี่ยวกับงานภาพหินได้
       3.2.2 กำหนดให้มีการวิจารณ์ผลงานภาพพิมพ์หิน ของกันและกัน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะระหว่างเพื่อนในชั้นเรียน
       3.2.3 แนะนำให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง โดยศึกษาจากศิลปินในประเทศและต่างประเทศ
3.3.1 ประเมินจากผลงานในแผนการสอนแต่ละชิ้นรวมไปถึงทักษะในการสร้างสรรค์ ภาพพิมพ์หิน
3.3.2 ประเมินจากทัศนะส่วนบุคคลที่มีคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์
3.3.3 ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน
3.3.4 ประเมินจากการสร้างสรรค์ผลงานภาพร่าง(sketch)ก่อนลงมือปฏิบัติงานจริง
4.1.1  สามารถวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
4.1.2  มีความเคารพตนเองและผู้อื่น โดยสามารถศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และวิจารณ์ผลงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้
4.1.3  มีความรัก ความสามัคคีกันในชั้นเรียน
4.2.1 ให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติและสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นแนวทางของตนเองโดยอยู่ภายใต้กระบวนการภาพพิมพ์หินได้
4.2.2 สอนให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
4.2.3 ให้นักศึกษาปฏิบัติงานร่วมกันภายในชั้นเรียนเพื่อสร้างความสามัคคี
4.2.4 ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันภายในห้องเรียน เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
4.2.5 นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ผลงานด้วยตนเองนอกเหนือจากที่อาจารย์สอนได้ด้วยตนเอง
4.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินผลจากความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการปฏิบัติงานจริง
4.3.3 ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกัน
5.1.1 เพิ่มทักษะความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.2 ให้ความรู้ความเข้าใจในเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 นำเสนอตัวอย่างความรู้ ความชำนาญเกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน ในงานศิลปะภาพิมพ์หินรวมทั้งตัวอย่างผลงานของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.2 นำเสนอภาพผลงานศิลปะ เทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.3 มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินผลความรู้ความเข้าใจจากผลงานที่สร้างสรรค์ตามเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.2 ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1.1. มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
6.1.2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนนัด
6.1.3. สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม
6.1.4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน
6.1.5. มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
6.2.1. สร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติ
6.2.2. จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในที่สาธารณะเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์และฝึกปฏิบัติงานด้วยใจ
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
6.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
6.3.3 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 41013304 ศิลปะภาพพิมพ์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 รู้ความหมายและประเภทของงานศิลปะทางด้านภาพพิมพ์หิน(Lithograph) สามารถสร้างสรรค์ผลงานของตนเองตาม ตามหัวข้อและเทคนิคที่กำหนด มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากการผลงานที่ครบถ้วนสมบูรณ์ด้วยวิธี กระบวนการ และทางเทคนิคภาพพิมพ์หิน ประเมินจากผลงานแต่ละชิ้นตามหัวห้อในแผนการสอนของรายวิชาภาพพิมพ์หิน การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ผลงานภาพพร่างที่นักศึกษาต้องค้นคว้าและลงมือสร้างภาพร่างด้วยแนวทางของตนเองตามที่อาจารย์ผู้สอนกำหนดในแต่ละสัปดาห์ 1-16 10% 80% 10%
รศ.กัญญา เจริญศุภกุล. ภาพพิมพ์หิน Lithograph. กรุงเทพฯ :บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2550.
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาภาพพิมพ์ 3
- สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นในเนื้อหานั้น
- นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์
- ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาค หรือสาขาวิชา
- จัดประชุมคณะอาจารย์ ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
- สรุปผลการประเมินการสอนจากนักศึกษา
- ประชุมคณะอาจารย์แจ้งผลการประเมิน แสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการสอน
- จัดประชุม สัมมนาคณะอาจารย์เพื่อพัฒนาเทคนิคใหม่เกี่ยวกับการสอน
- มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ และผลสอบ
- ให้นักศึกษาตรวจสอบคะแนน ผลคะแนนจากฝ่ายทะเบียนได้
- นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนานำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป