สัมมนาพืชศาสตร์

Plant Science Seminar

1.1 มีทักษะในการค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียงเอกสารอย่างเป็นระบบ
1.2 มีทักษะในการนำเสนอและอภิปรายอย่างถูกต้อง
1.3 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการ
ศึกษา วิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการนำเสนอและอภิปรายงานวิชาการ รวมถึงการนำความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การค้นคว้า การเรียบเรียง การวางแผนการนำเสนอและการนำเสนอ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการค้นคว้า การรวบรวม การเรียบเรียง การนำเสนอ อภิปราย ความรู้และความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาวิชาพืชศาสตร์
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาให้นักศึกษาทราบ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  แก้ไข
- สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม  - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ  - ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา  - ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด  - ไม่มีการทุจริตในการสอบ  - มีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด  แก้ไข
- มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา 
 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดย  เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative  Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น  แก้ไข
- การประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย  - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 
- มีทักษะทางการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ  แก้ไข
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)  - ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา  - แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการทำงานมอบหมาย  - ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล  - เชิญอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญภายในสาขา มาร่วมรับฟังการนำเสนองานทางวิชาการของนักศึกษา ให้ข้อเสนอแนะ และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน  แก้ไข
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน  - ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน  แก้ไข
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษา  ทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด  - ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน  - ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา  - ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน  - ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มีการนำเสนองานเดี่ยวหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ - ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง  - กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ PowerPoint
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ  - ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน  - ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 6 3
1 21011498 สัมมนาพืชศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 5.3 การสอบกลางภาค 8 5%
2 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 งานที่ฝึกปฏิบัติในชั่วโมง 1-16 25%
3 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 งานที่ได้รับมอบหมาย 9-16 45%
4 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 5.1 5.2 5.3 งานนำเสนอทางวิชาการ (รายบุคคล) 16 45%
5 1.3 4.1 4.2 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5%
6 1.3 4.1 4.2 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-15 3%
7 1.3 4.1 4.2 4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 15 2%
ไม่มี
1. กวิศร์ วานิชกุล 2531. สัมมนาหลักการและการนำเสนอในสาขาพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ, 70 น.  2. พงษ์สันติ์ สีจันทร์. 2527. การเตรียมบทสัมมนาและการพูด. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร- ศาสตร์ กรุงเทพฯ , 63 น. 3.บัณฑิตวิทยาลัย. 2536. คู่มือวิทยานิพนธ์ สายวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กรุงเทพฯ, 70 น.  4. อรจิต ภูแพ. 2536. สัมมนา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ, 58 น.  แก้ไข
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  2.1 การสังเกตการณ์ในการสอน  2.2 ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ  2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุง ดังนี้  3.1 แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน  3.2 การวิจัยใน และนอกชั้นเรียน  แก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือ การสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ  5.3 นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา