สารทางการเกษตรเพื่อการผลิตพืช

Agricultural Substances for Plant Production

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภทคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี กลไกการออกฤทธิ์ การเตรียมพฤติกรรมในพืช พฤติกรรมในสภาพแวดล้อมและความเป็นพิษทางการเกษตร ตลอดจนการประยุกต์ใช้สารที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาขีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารทางการเกษตรเพื่อการผลิตพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดอันตรายของการใช้สารต่อผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภท คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี กลไกการออกฤทธิ์ การเตรียม พฤติกรรมในต้นพืช พฤติกรรมในสภาพแวดล้อม และความเป็นพิษของสารทางการเกษตร ตลอดจนการประยุกต์ใช้สารกับพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.1 สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน
1.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3  ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
1.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้แก่การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต /แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน
2.1   ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.2   ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานเพาะปลูกไม้กระถางที่ได้รับมอบหมาย
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3  ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วโดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆรวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
 3.4   เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐภายนอกมหาวิทยาลัยมาให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
3.1   ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 3.2   ดูจากรายงานการนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 3.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมายเพื่อให้นักศึกษา
   ทำงานได้กับผู้อื่นโดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3   การนำเสนอรายงาน
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนโดยประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.2  ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3   ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21011351 สารทางการเกษตรเพื่อการผลิตพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1, 2.2,3.1,4.3 การเข้าชั้นเรียน /การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.3,4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค ทุกสัปดาห์ 4,6,10 8 10
3 5.1,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20
4 5.1,5.3 การสอบปลายภาค 16 65
เกรียงไกร จำเริญมา. (บก.). 2540. การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน. เอกสารวิชาการ กอง กีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 360 หน้า.
บรรพต ณ ป้อมเพชร. 2524. หลักการควบคุมแมลงศัตรูพืช ความรู้พื้นฐาน และความ ปลอดภัยเกี่ยวกับ ยาปราบศัตรูพืช. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์/     สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. 231 หน้า
สืบศักดิ์ สนธิรัตน.  2543.  การจัดการศัตรูพืช. วี.บี.บุ๊คเซ็นเตอร์. กรุงเทพฯ. 189 น.    
-
ค้นหาเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต