การจัดการเชิงกลยุทธ์

Strategic Management

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และีความเข้าใจความหมายการจัดการเชิงกลยุทธ์
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงกระบวนการวางแผน องค์ประกอบของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ลักษณะโครงสร้างและรายละเอียดของการจัดการเชิงกลยุทธ์
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายนอก และสภาพแวดล้อมทางการแข่งขันของธุรกิจได้
4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์กลยุทธ์ระดับองค์การ กลยุทธ์ระดับธุรกิจ กลยุทธ์ระดับหน้าที่ และกลยุุทธ์รวมของธุรกิจได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์เชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ ด้วยการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง และข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถบูรณาการวิเคราะห์กับความคิด และสามารถนำไปวางแผนกลยุทธ์จริงได้
ศึกษาแนวคิดในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ในระดับต่าง ๆ ขององค์การ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการควบคุมกลยุทธ์ รวมถึงแนวทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ทันสมัย โดยกรณีศึกษาประกอบการศึกษา
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เฉพาะรายที่ต้องการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-3, 4-5 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 60%
2 1-6 การนำเสนอโครงการ การนำเสนอรายงาน และนำส่งรายงานฉบัยสมบูรณ์ 14 - 15 30%
3 1-5 กการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
อัจฉรา จันทร์ฉาย. 2550. สู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจ คู่มือการวางแผนกลยุทธ์และการจัดทำ BSC (Balanced Scorecard). พิมพ์ครั้งที่ 10 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. 2541. นโยบายธุรกิจและการบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ธีระฟิลม์ และไซเท็กซ์ จำกัด.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. 2542. การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน).
แบบประเมินประสิทธผลของรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
แบบประเมินผการเรียนการสอนจากการสังเกตุการณ์สอน และผลการเรียนของนักศึกษา และการทดสอบผลประเมินการเรียนรู้
การจัดทำวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่งกลุ่มผู้สอน
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ การสอบถามจากนักศึกษา การทวนสอบจากคะแนนสอบ และการตรวจรายงานที่เสร็จสิ้น
ควรปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี