การจัดการความสัมพันธ์ของผู้บริโภคและการบริการลูกค้า

Consumer Relationship Management and Customer Service

1. เข้าใจความหมายและความสำคัญของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์และการบริการลูกค้า
2. รู้และเข้าใจการกำหนดกลยุทธ์ในการสร้างความสัมพันธ์ และการสร้างความจงรักภักดี
3. สามารถวิเคราะห์กำไรจากลูกค้าเพื่อการจัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสม
4. เข้าใจถึงห่วงโซ่ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจกับลกำไร
5. นำความรู้ที่ได้จากการจัดการความสัมพันธ์ของผู้บริโภคและการบริการลูกค้าไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้ ตามสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจที่เลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
ศึกษาการสร้างความสัมพันธ์ในระบบการไหลเวียนสินค้า การนำกลยุทธ์ทางธุรกิจทั้งด้านการขาย การตลาด และการบริการ เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในตลาดเป้าหมายและสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์ บริการแก่ลูกค้าได้ดีที่สุดเป็นการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน วิธีการสร้างและใช้ฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อสร้างความสัมพันธ์ การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อติดตามและสนองความต้องการของลูกค้าได้ถูกต้องและรวดเร็วที่สุด
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เฉพาะรายที่ต้องการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1, 4.3.1 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 35% + 35%
2 2.3.2, 3.3.2, 4.3.2, 4.3.3, 5.3.1, 5.3.2 งานที่ได้รับมอบหมาย : วิเคราะห์การณีศึกษา ค้นคว้าและนำเสนอ การทำงานกลุ่ม การอภิปรายกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 - 1.7, 3.1 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน : การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ธนศักดิ์ ตันตินาคมใ 2561. สำเนาเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการความสัมพันธ์ของผู้บริโภคและการบริการลูกค้า
ธีระศักดิ์ กำบรรณารักษ์. 2550. การบริหารลูกค้าสัมพันธ์เชิงรุก. สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วรานนท์ ตั้งจักรวรานนท์. 2546. การสร้างสัมพันธภาพกับลูกค้าแบบยั่งยืน. สำนักพิมพ์บีไร้ท์บุ๊ค, กรุงเทพฯ.
1. ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนของอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ผู้สอน เมื่อสิ้นภาคการศึกษา
2. การติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาระหว่างภาคเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1. การพิจารณาจากผลคะแนนจากการสอบ
1. สังเกตจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
1. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา วิเคราะห์ผล เพื่อนำมาปรับปรุงการสอน
2. อาจารย์ผู้สอนควรหาควารู้เพิ่มเติมจากการฝึกอบรม สัมมนาอย่างสม่ำเสมอ
1. มีการทบทวนสัดส่วนของการให้คะแนน
2. มีการทบทวนข้อสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
3. มีการสุ่มสอบถามด้วยวาจาจากงานที่มอบหมาย
1. ควรปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี 
2. การทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อวิเคราะห์หาแนวทางพัฒนาปรับปรุง