เทคโนโลยีการก่อสร้าง 2

Construction Technology 2

          1.1 เข้าใจวิธีการก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับอาคารสาธารณะไม่เกิน 4 ชั้น
1.2  เข้าใจคุณสมบัติ  ของวัสดุก่อสร้าง  สำหรับของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับอาคารสาธารณะไม่เกิน 4 ชั้น
1.3 นำคุณสมบัติของวัสดุและการก่อสร้างมาใช้ในการเขียนแบบอาคารได้
1.4 มีทักษะในการเขียนแบบอาคารสาธารณะไม่เกิน 4 ชั้น
1.5  มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง
           เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ใน วิธีการก่อสร้าง  คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้างและสามารถเขียนแบบก่อสร้าง  อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับอาคารสาธารณะไม่เกิน 4 ชั้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการ  วิธีการก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง องค์ประกอบและรายละเอียดของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับอาคารสาธารณะไม่เกิน 4 ชั้น ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ การขยายแบบ ครุภัณฑ์ ด้วยเครื่องมือเขียนแบบ
 - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง

1.2.2 ปฏิบัติการเขียนแบบ
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลจากความรับผิดชอบในปฏิบัติงานเขียนแบบ ภายในห้องเรียน
2.1.1 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 การบรรยายประกอบสื่อผสม
2.2.2 การถาม ตอบในชั้นเรียน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  รายงาน
2.3.3 ประเมินผลจากผลงานการเขียนแบบ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
  3.2.1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติการเขียนแบบ
  3.2.2 มีการนำหลักการในการก่อสร้างอาคารไม้ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับบ้านพัก อาศัย 1-2 ชั้นมาใช้ในงานเขียนแบบอย่างเหมาะสม
3.3.1   วัดผลจากการประเมินผลงานเขียนแบบ
3.3.2   สังเกตพฤติกรรมในการทำงาน  และการแก้ปัญหาในการทำงาน
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
-
-
-
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 3 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42023202 เทคโนโลยีการก่อสร้าง 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - การประเมินจากการทำงานในชั้นเรียนของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 50%
2 ความรู้ - สอบกลางภาคเรียน - สอบปลายภาคเรียน ตลอดภาคการศึกษา 25%
3 ทักษะทางปัญญา - การทำรายงานและงานที่กำหนดให้นอกเวลาเรียน 10%
4 ทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ - มีจิตสาธารณะ ใช้ความรู้ในวิชาชีพช่วยเหลือผู้อื่นและ งานสาธารณะประโยชน์ - การตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 15%
เอกสารประกอบการสอนวิชา Construction Technology 1
 
จรัญพัฒน์  ภูวนันท์.  อาคารสูง.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540
_______________.  การก่อสร้างด้วยเหล็ก.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ : อี.ที.พับลิชชิ่ง, 2543.
เฉลิม   สุจริต.  วัสดุและการก่อสร้างสถาปัตยกรรม.  พิมพ์ครั้งที่ 3.  กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
ชิง,  ฟรานซิส ดี.เค., ก่อสร้างอาคารบรรยายด้วยภาพ  แปลจาก Building  Construction  Illustrated  โดย ทัต  สัจจะวที. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
มาลินี  ศรีสุวรรณ,  ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทต่างๆ.  กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.
สิทธิโชค  สุนทรโอภาส, เทคโนโลยีอาคาร.  กรุงเทพฯ : สกายบุ๊คส์, 2543.
สุภาวดี  รัตนมาศ.  หลังคาในงานสถาปัตยกรรม.  กรุงเทพฯ : นุยบุ๊คส์, 2543.
Architecture Gallery, Sketch up.  (Online).  Available: http://www.sketchup.com/product
/gallery.php?gid=89#top (Access date: 13 April 2003).
Angus,MacDonald, J.  “Long-span Structures,”  Architecture week.  (Online).  Available: http://www.architectureweek.com/2003/0326/building_1-2.html (Access date: 26 March 2003).
Arcila,Martha,T.  Bridges.  Spain : Atrium International, 2002.
Bagenal,Philip.and Meades,Jonathan.  Great Buildings.  UK : Salamander Books, 1990.
Gossel,Peter.and Leuthauser,Gabriele.  Architure in the Twentieth Century.  Germany : Benedikt Taschen, 1991.
Salvadori,Mario.and  Heller,Robert.  Structure in Architecture.  New Jersey : Prentice-Hall,  1963.
เอกสารประกอบการสอนวิชา Construction Technology 1
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่สาขาฯ ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์