ทักษะวิชาชีพสัตวศาสตร์ 1

Practical Skills in Animal Science 1

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว
1.1 เข้าใจหลักและวิธีปฏิบัติงานด้านสัตวศาสตร์
1.2 มีทักษะในการให้อาหาร และการสุขาภิบาลสุกร สัตว์ปีก และโค
1.3 มีทักษะในการผลิตหรือจัดทำอาหาร และพืชอาหารสัตว์
1.4 บำรุงรักษาโรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์
1.5 มีความอดทน มีวินัย และความซื่อสัตย์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
1.6 มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการเลี้ยงสัตว์
เพื่อจัดการฝึกงานให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีและการนำมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้านสัตวศาสตร์ ปฏิบัติงานด้านการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล และเป็นระบบ มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาบรรณของวิชาชีพที่ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทัศนคติ และเจตคติที่ดีที่ดีต่อวิชาชีพทางการเกษตร
ฝึกงานพื้นฐานด้านสัตวศาสตร์  เพื่อให้มีความรู้และทักษะด้านสัตวศาสตร์เฉพาะทาง  เช่น การตอน   การผสมเทียม  การทำคลอดสัตว์  การฉีดยา  การให้วัคซีน เป็นต้น
วันจันทร์-ศุกร์เวลา 16.00-18.00น.

หรือโทร.092-6686995 E-mail; Maiqcpsk@hotmail.com
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนฝึกปฏิบัติการ
6. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2 .โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.ข้อสอบอัตนัย
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง
ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
11. การสอนแบบบรรยาย  
12. การสอนแบบสัมมนา  
13. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ    
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5.การประเมินตนเอง
6.การเขียนบันทึก
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
11. การสอนแบบปฏิบัติ 
12. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5.การเขียนบันทึก
6.โครงการกลุ่ม
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบกรณีศึกษา
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
7. การสอนแบบปฏิบัติ 
8. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง 
พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวาจา
ใช้ใบงาน ในการทำรายงานการปฏิบัติงานส่ง
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3.โครงการกลุ่ม
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา  
    (Case Studies)
2. การสอนแบบสถานการณ์
    จำลอง (Simulation)  
3. การสอนแบบ  Problem
    Based Learning    
1. สถานการณ์จำลอง
2. การนำเสนองาน
3. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCAG211 ทักษะวิชาชีพสัตวศาสตร์ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ผลงาน/การเขียนบันทึก/การทำงานกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 5
2 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 นำเสนองานเป็นกลุ่มพฤติกรรมต่างๆเช่นความสนใจการซักถามเป็นต้น ทุกสัปดาห์ 5
3 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.3 การส่งงานการเข้าทำงานฟาร์ม ความรับผิดชอบคุณธรรมและจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 5
4 1.1.1, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ผลการปฏิบัติงานโดยรวม/แฟ้มสะสมงานทั้งหมด ทุกสัปดาห์ 70
5 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ผลงาน /แฟ้มสะสมงาน/การทำงานกลุ่ม/ การประเมินตนเอง/การประเมินโดยเพื่อน ทุกสัปดาห์ 10
6 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 นำเสนองานเป็นกลุ่ม/พฤติกรรมต่างๆเช่นความสนใจการซักถามเป็นต้น ทุกสัปดาห์ 5
คู่มือการปฏิบัติงานแต่ละหมวดงาน
ไม่มี
ไม่มี
จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา โดยทำการสัมภาษณ์(สอบถาม,พูดคุยเปิดใจ)กับนักศึกษา ให้นักศึกษาทุกคนประเมิน
1.1 วิธีการสอนของอาจารย์ประจำแผนก พี่เลี้ยง คนงานประจำฟาร์ม
1.2 การจัดแบ่งงานในฟาร์มสัตว์ และกิจกรรมที่ได้ทำในแต่ละฟาร์ม
1.3 สิ่งสนับสนุนการปฏิบัติงานในฟาร์มที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้
1.4 ผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
1.5 สิ่งมี่นักศึกษาต้องการและ/หรือข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อปรับปรุงรายการปฏิบัติงานในแต่ละฟาร์ม
ประเมินจากการสัมภาษณ์นักศึกษา
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและทั้งกลุ่ม
ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
ประเมินจากบันทึกการปฏิบัติงานในแต่ละครั้งที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากแฟ้มสะสมงานมี่ให้นักศึกษาส่งหลังครบปฏิบัติหลักสูตรรายวิชา
อาจารย์ประรายจำวิชาประมวลผลการฝึกงานของนักศึกษาทั้งหมด พร้อมทั้งผลการประเมินและข้อเสนอแนะต่างๆ ของนักศึกษาทั้งการการสัมภาษณ์นักศึกษาและทำการวิจัยในชั้นเรียนเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างอาจารย์  คนงานประจำแผนกงานฟาร์มทุกฟาร์มพร้อมทั้งกรรมการหลักสูตร เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและกำหนดกลไก,วิธีการปรับปรุงแก้ไขปัญหาไว้  หลังจากนั้นจัดทำรายงานผลการดำเนินการของการฝึกงาน รายงานต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อทราบและดำเนินงานตามขั้นตอนต่อไป
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยการตรวจสอบรายงานวิธีการให้คะแนนและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี
-เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ที่กว้างขึ้น