พืชอาหารสัตว์

Forage Crops

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. รู้ประวัติ ความสำคัญ และชนิดของพืชอาหารสัตว์เขตร้อน
2. เข้าใจการใช้ประโยชน์ การปลูก และการบำรุงรักษาแปลงพืชอาหารสัตว์
3. เข้าใจการใช้ประโยชน์ การจัดการ การปรับปรุงแปลงพืชอาหารสัตว์ และการถนอมพืชอาหารสัตว์
4. เข้าใจการประเมินผลผลิต คุณค่าทางอาหารของพืชอาหารสัตว์ และการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์
5. มีทักษะในการผลิตพืชอาหารสัตว์
6. รู้ความสำคัญของพืชอาหารสัตว์ที่มีต่อการเลี้ยงสัตว์กระเพาะรวม
การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเรื่องการวางแผนการผลิตพืชอาหารสัตว์ และปัญหาเกี่ยวกับพืชอาหารสัตว์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับ ประวัติ และความสำคัญของพืชอาหารสัตว์ ชนิดของพืชอาหารสัตว์เขตร้อน การปลูกและปรับปรุงแปลงพืชอาหารสัตว์ การใช้ประโยชน์ และการจัดการพืชอาหารสัตว์ การบำรุงรักษาแปลงพืชอาหารสัตว์ การถนอมพืชอาหารสัตว์ ผลผลิต และคุณค่าทางอาหารของพืชอาหารสัตว์ การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การสอนแบบ Problem Based Learning
7. การสอนแบบสาธิต
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอนแบบฝึกภาคสนาม
10. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.การสังเกต
2.การสัมภาษณ์
3.การนำเสนองาน
4.การฝึกตีความ
5.ข้อสอบอัตนัย
6.การประเมินโดยเพื่อน
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
7. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)
8. การสอนแบบ Problem Based Learning
9. การสอนแบบสาธิต
10. การสอนแบบบรรยาย
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.การประเมินโดยเพื่อน
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
6. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
11. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
14. การสอนแบบ Tutorial Group
15. การสอนฝึกปฏิบัติการ
17. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
18. การสอนแบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
24. การสอนในห้องปฏิบัติการ
25. การสอนแบบ Problem Based Learning
26. การสอนแบบสาธิต
30. การสอนแบบฝึกภาคสนาม
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.การประเมินโดยเพื่อน
.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
3. ให้นักศึกษาทำงานเป็นคู่ หรือเป็นกลุ่ม
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.การประเมินโดยเพื่อน
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ให้รับผิดชอบดูแล แปลงหญ้าอาหารสัตว์
ตรวจแปลงหญ้าที่รับผิดชอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCAG242 พืชอาหารสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อย 5 ครั้งโดยนัดหมายวันทดสอบ ข้อสอบอัตนัย 2-8 และ 10-16 10
2 การเขียนรายงานตามบทปฏิบัติการที่มอบหมาย ตรวจรายงาน 2-8 10
3 การสอบกลางภาค ข้อสอบอัตนัย 9 25
4 การเขียนรายงานตามบทปฏิบัติการที่มอบหมาย ตรวจรายงาน 10-14 10
5 การเขียนรายงานกรณีศึกษาดูงานนอกสถานที่ และนำเสนอผลงาน ตรวจรายงาน ฟังการนำเสนอ 15-16 10
6 การสอบปลายภาค ข้อสอบอัตนัย 17 25
7 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา การสังเกต การเช็คชื่อเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
กรมปศุสัตว์. 2545. การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์. กรมปศุสัตว์, กรุงเทพฯ. 100 น.
ก่องกานดา ชยามฤต. 2548. คู่มือจำแนกพันธุ์ไม้. บริษัท ไดมอนด์ พริ้นติ้ง จำกัด, กรุงเทพฯ. 235 น.
จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2539. การตรวจสอบและการวิเคราะห์คุณภาพเมล็ดพันธุ์. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ. 194 น.
เฉลิมพล แซมเพชร. 2537. วิทยาการการจัดการทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และพืชอาหารสัตว์. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 128 น.
เชาวลิต พานิชอัตรา และธำรงศักดิ์ พลบำรุง. 2549. ถั่วอาหารสัตว์และการผลิตเมล็ดพันธุ์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 23 น.

อินฝาง. 2544 เอกสารประกอบการสอนวิชาพืชอาหารสัตว์. สาขาวิชาสัตวศาสตร์และประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ลำปาง. ลำปาง. 420 น.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2549. เอกสารการสอนชุดวิชาพืชเศรษฐกิจ หน่วยเรียนที่ 8-15. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี. 472 น.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2549. เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์ หน่วยเรียนที่ 8-15. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี. 582 น.
สุวพงษ์ สวัสดิ์พาณิชย์. 2548. พืชอาหารสัตว์, น. 173-184. ในพฤกษศาสตร์พืชเศรษฐกิจเล่ม 1. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
Forman, L. and D. Brison. 1989. The Herbarium Handbook. Whitstable Iitho printers Ltd. Great Britain. 214 pp.
Skerman, P.J. and F.Riveros. 1990. Tropical Grasses. FAO, Rome. 832 pp.
University of California. 1998. Selecting and Preparing Flowering Plant Specimens. Univ. Calif. Agri. Exi. Serv. Bull. AXT-247. 13 pp.
หนังสือ ตามข้อ 6.1 ตำราที่กำหนด และหนังสืออื่น ๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับพืช พืชอาหารสัตว์
แผ่นซีดีบันทึกข้อมูลการผลิตอาหารสัตว์ของกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Point วิชาพืชอาหารสัตว์ที่จัดทำขึ้นตามหัวข้อวิชา (Course outline)

บทความเกี่ยวกับพืชอาหารสัตว์ จากเว็บไซต์ต่างๆ และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์ และความเป็นปัจจุบัน
 
ให้นักศึกษาทุกคนทำการประเมินการสอนของอาจารย์ผ่านระบบของมหาวิทยาลัย และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การเปรียบเทียบผลการทดสอบตามบทเรียน ประเมินผลจากการสื่อสารสองทางการตั้งคำถามและการโต้ตอบในชั้นเรียน
      ผู้สอนทบทวนกลยุทธ์การสอนทุกภาคการศึกษา  มีการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนใหม่ๆ ทุกปี  แลกเปลี่ยนเรียนรู้กลยุทธกับอาจารย์ประชุมหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขา
วิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป