การตลาดสินค้าชุมชน

Local Product Marketing

เพื่อให้สอดคล้องกับปณิธานของคณะเพื่อผลิตบัณฑิตการตลาดที่มีความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร ธุรกิจ โดยเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการนำผลิตภัณฑ์ในชุมชนมาเพิ่มมูลค่า ปลูกฝังให้นักศึกษารู้จักนำ ความรู้ที่ได้เรียนมาทางด้านการบริหารธุรกิจมาประยุกต์ใช้ในธุรกิจจริง
เพื่อยกระดับทักษะ ความรู้ ความสามารถให้นักศึกษากลุ่มเป้าหมายได้ร่วมมือกันสร้างองค์ความรู้ จากภายในมหาวิทยาลัยและนำไปพัฒนาสู่ชุมชน สร้างงาน สร้างอาชีพ ด้วยวิถีทางแห่งปัญญา
ศึกษาถึงการจัดการทางการตลาดของสินค้าและบริการของชุมชน พัฒนาสินค้าของท้องถิ่น ให้มีเอกลักษณ์เป็นที่ยอมรับของตลาด ประยุกต์ส่วนประสมทางการตลาดมาช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าของ
ท้องถิ่น และการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของสินค้าชุมชน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม

1.1.5มีจิตสำนึกและมีนโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
ความรู้ ที่ต้องได้รับ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผนการปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน

2.1.4มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ
3.1.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
3.1.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้
3.1.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงงานโดยให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาทางการตลาด
ประเมินจากโครงงาน หรือรายงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงาน
ประเมินจากกรณีศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.1.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
4.1.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
4.1.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่าง อย่างสร้างสรรค์
จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
มอบหมายงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
5.1.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.1.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือ และสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวความคิดที่หลากหลาย
5.1.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
5.1.7 ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และทำรายงาน โดยให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสมทั้งในรูปแบบรายงาน และการนำเสนอ
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่าง อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือ และสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวความคิดที่หลากหลาย ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน มีจิตสำนึกและมีนโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผนการปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
1 12021412 การตลาดสินค้าชุมชน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.2 การทดสอบ -การสอบกลางภาค -การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่9 และ 17 กการสอบกลางภาค 30% การสอบปลายภาค 30%
2 3.1.1 , 3.1.2 , 5.1.1 , 5.1.3 , 5.1.6, 5.1.7 การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน -การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย -การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1.4 การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชูศักดิ์ เดชเกรียงไกรกุล และ นิทัศน์ คณะวรรณ. การตลาด 1 ตำบล 1 ผลิตภัณฑ์ และธุรกิจ SMEs.
กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น บมจ, 2547.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. การจัดการตลาดและวิสาหกิจชุมชน.นนทบุรี : โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2552.
สำนักมาตรฐานการศึกษา สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ. ชุดวิชาการ
จัดการธุรกิจชุมชน.สำนักมาตรฐานการอุดมศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัย,2550
 
สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหประเทศไทย. เทคโนโลยีสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์OTOP เล่ม 2
การพัฒนาบรรจุ
กรมการพัฒนาชุมชน, กรณีศึกษาเครือข่ายOTOP
สมพงษ์ ธงไชย, สุดยอดOTOPไทยความภูมิใจของแผ่นดิน
- http://e-jorunal.dip.go.th
- http://library.dip.go.th
- http://smethai.dip.go.th
1. ประเมินผู้สอนประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา
2. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพื่อสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การตอบคำถามภายในชั้นเรียน การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน การตอบ ซึ่งเป็นการประเมินเบื้องต้นได้ว่า นักศึกษามีความเข้าใจหรือไม่
ใช้วิธีการประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาว่ามีความเข้าใจ  และแนวคิดอย่างไร ตรงตามเป้าหมายที่ระบุในวัตถุประสงค์การเรียนหรือไม่ โดยใช้การพูดจาสื่อสารระหว่างกัน เกี่ยวกับความรู้ต่างๆ
โดยรวมนักศึกษามักมีจุดอ่อนทางด้านสมรรถนะด้านวิชาการ การฟังคำบรรยาย การนำเสนอสาระ ผลการอ่านตำราวิชาการ ผลการฟังคำบรรยายด้วยภาษาพูด ภาษาเขียน ดังนั้นอาจารย์เองต้องมีการวิจัยในชั้นเรียนว่ามีอุปสรรคใดขัดขวางต่อการสร้างความคิด หรือเป็นผลต่อการเมินเฉยของนักศึกษาอันจะก่อให้เกิดการขาดความเชื่อมั่น และต้องมีการนำมาปรับปรุงเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ดีขึ้น  
การทวนสอบมาตรฐานตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ท่านอื่นที่ไม่ใช่ผู้สอนวิชา ได้อย่างอิสระ เพื่อมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีการยกตัวอย่างมาตรฐานงานของอาจารย์จากสถาบันอื่น
การสร้างโมเดลจำลองสถานการณ์ การแก้ไขจัดการกับปัญหาให้แก่นักศึกษา และสังเกตวิธีการแก้ปัญหา โดยนำข้อเสนอแนะของนักศึกษามาปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อให้หลักสูตรตรงกับการนำไปใช้ในธุรกิจปัจจุบันมากขึ้น