การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Basic Electronics Engineering Training

1.1 เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับการอ่านค่าความต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยว  
1.2 เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อวงจรตัวต้านทาน  ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยว 
1.3 เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติเกี่ยวการวัดด้วยเครื่องวัดและการวัดทางไฟฟ้าขั้นพื้นฐาน
1.4 เพื่อให้นักศึกษาฝึกการบัดกี การพันสายไฟชนิดต่างๆ และติดตั้งไฟฟ้าพื้นฐาน
1.5 เพื่อนักศึกษาได้ฝึกการออกแบบและสร้างลายวงจรพิมพ์เบื้องต้น
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการกระตุ้นให้นักศึกษาตั้งคำถามเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหา
ปฏิบัติเกี่ยวกับการอ่านค่าตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนำ การต่อวงจรค่าตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนำ  การใช้เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้าขั้นพื้นฐาน การบัดกรี การพันสายไฟฟ้าชนิดต่างๆ และการติดตั้งไฟฟ้าขั้นพื้นฐาน การออกแบบและการสร้างลายวงจรพิมพ์เบื้องต้น
Pratice on reading values of restores,capacitor inductors. Forming an electric circuit by restores,capacitor inductors. Utilizing measuring instrument and basic electrical measurement ,soldering, lapping various type of power line and intallation of eletrical infarstructure ,Designing and building a basic printed circuit board (PCB).
  -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกในชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม
1.3.2 ประเมินการมีวินัยและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การจัดส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดถึงการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ me:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";}
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์ คุณลักษณะทางกระแส แรงดันและความถี่
- นักศึกษาได้วิเคราะห์และออกแบบวงจรไดโอด
- นักศึกษาได้วิเคราะห์และออกแบบวงจรทรานซิสเตอร์ แบบBJT, MOS, CMOS, และ BiCMOS OPAMP
- นักศึกษาประยุกต์ใช้งาน โมดูลแหล่งจ่ายไฟ
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
มอบหมายให้ทำกิจกรรมภายในชั้นเรียนและทดลองคำนวณ วิเคราะห์ตามโจทย์ โดยนำหลักการทางทฤษฏีมาประยุกต์ใช้ ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติการคำนวณและวิเคราะห์  เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ มอบหมายให้ทำกิจกรรมภายในชั้นเรียน
style='font-size:16.0pt; font-family:"Angsana New","serif"'>
- นักศึกษาได้วิเคราะห์และออกแบบวงจรทรานซิสเตอร์ แบบBJT, MOS, CMOS, และ BiCMOS OPAMP
- นักศึกษาประยุกต์ใช้งาน โมดูลแหล่งจ่ายไฟ
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
2.3.1   การสอบกลางภาค
2.3.2   การสอบปลายภาค
2.3.3   การทำการคำนวณและวิเคราะห์ที่ได้รับมอบหมายหรือโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้
2.3.4   การมีส่วนร่วมในการเรียน และการตรงต่อเวลา �ล่งจ่ายไฟ
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเองมีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยายทฤษฎีและปฏิบัติตามหลักการทฤษฏีให้นักศึกษา
3.2.2   ศึกษาค้นคว้าและทำรายงาน
3.2.3   คำนวณวิเคราะห์กรณีศึกษา  สถานการณ์จำลองในการประยุกต์ใช้
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   ประเมินจากผลการคำนวณและวิเคราะห์ จากโจทย์ปัญหาที่มอบหมาย
3.3.2   สังเกตการแก้ไขปัญหาตามที่มอบหมาย
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา และผลการคำนวณวิเคราะห์โจทย์
ในการประยุกต์ใช้ 3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
t-family:"Angsana New","serif";mso-fareast-font-family: "Times New Roman";mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US; mso-bidi-language:TH'>3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
       4.2.1   จัดกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาที่เรียนด้วยกัน
       4.2.2   มอบหมายรายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มรายงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
       4.2.3   การนำเสนอรายงานหรือเฉลยโจทย์ปัญหาหน้าชั้นเรียน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
   4.2.3   การนำเสนอรายงานหรือเฉลยโจทย์ปัญหาหน้าชั้นเรียน
5.1.1   ทักษะด้านการคำนวณตามที่ปรากฏในบทเรียนต่างๆ 5.1.2  ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน  5.1.3   มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.1.4   สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ ฯลฯ 5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
5.2.1   บรรยายโดยอาศัยเอกสารประกอบการสอน/เอกสารนำเสนอในการสอน ให้นักศึกษาทดลองคำนวณหรือวิเคราะห์ตามโจทย์ที่กำหนด และปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 5.2.2    กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและการนำเสนอรายงาน 5.2.3   แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล 5.2.4   การมอบหมายรายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดทำรายงาน รวมถึงต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศตามใบงานการทดลอง  
5.3.1   ประเมินจากการลงมือทดลองตามที่มอบหมาย 5.3.2   สังเกตประเมินจากผลการปฏิบัติงานและ ประเมินจากรายงานผลการทดลองที่มอบหมาย 5.3.4   ประเมินจากรายงานผลการทดลองที่มอบหมาย 5.3.5   ประเมินทักษะด้านการคำนวณและแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นด้วยการสอบกลางภาคและปลายภาค  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล