การวัดและประเมินผลการศึกษา

Educational Measurement and Assessment

1. เข้าใจพื้นฐานของการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
2. วางแผนและสร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนได้ตรงตามวัตถุประสงค์
3. มีทักษะในการสร้างเครื่องมือวัดได้อย่างเหมาะสมและวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวัด
4. เลือกใช้เครื่องมือวัดประเภทต่างๆได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนการสอน
5. ประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนและตัดสินผลการเรียน
6. เข้าใจรูปแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
7. มีกิจนิสัยที่ดีในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
2. เพื่อให้นักศึกษาเห็นความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาที่เรียนและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
 
          ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ และเทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม นำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตร   
 
    
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านทางไลน์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
          1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม    
          1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
          1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
          1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
 
          1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
         1.2.2 สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การดูและรักษาความสะอาดห้องเรียน        
          1.2.3 ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
          1.2.4 ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่าง ๆ ในชั้นเรียน  
 
          1.3.1 การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
          1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
          มีความรู้ใน ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ และเทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม นำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตร 
          2.2.1 บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน
          2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ
          2.2.3 มอบหมายให้ทำงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
          2.2.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
          2.3.1 ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค
          2.3.2 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
          2.3.3 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนอรายงาน
          3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
          3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
          3.2.1 บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน
          3.2.2 มอบหมายให้ทำงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
          3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
          3.3.1 ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค
          3.3.2 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
          3.3.3 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนอรายงาน
          4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
          4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
          4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
          4.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ และผู้นำเสนอ
          4.2.2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
          4.2.3 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
          4.3.1 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
          4.3.2  พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
          4.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
          5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
          5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
          5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
          5.2.2 กำหนดให้นักศึกษานำเสนองาน โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
          5.3.1 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
          5.3.2 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนอรายงาน
          5.3.3 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
          5.3.4 มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 30025201 การวัดและประเมินผลการศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.3 - การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน ทุกสัปดาห์ 20%
2 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบกลางภาค 9 30%
3 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบปลายภาค 17 30%
4 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.3, 5.1.2 1. พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย 2. พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม 4. มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน 2-8, 11-16 20%
          - เอกสารประกอบการสอน
          - สื่อ Power Point
          ไม่มี
พิชิต  ฤทธิ์จำรูญ. (2556). หลักการวัดและประเมินการศึกษา. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์.
สมนึก  ภัททิยธนี. (2558). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์: โรงพิมพ์ประสานการพิมพ์.
ราตรี นันทสุคนธ์. (2555). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: จุดทอง จำกัด.
สุรีพร อนุศาสนนันท์. (2554). การวัดและประเมินในชั้นเรียน. ชลบุรี: โรงพิมพ์ เก็ทกู๊ดครีเอชั่น.
ล้วน สายยศ, อังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
Bloom, B.S.J.T. Hastings and G. F. Madus. Handbook on Formative and Summative Evalution of Student Learning. New York : MC. Graw Hill, 1972.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน...เว็บบอร์ด...ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
          2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          3.1 นำผลการประเมินของนักศึกษาและผลจากแบบสอบถามจากนักศึกษามาทบทวน
และปรับปรุงการเรียนการสอน
          3.2 นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน
          4.1 บันทึกหลังการสอนรายคาบ
          4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
          4.3 แจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
          5.1 บันทึกหลังการสอนรายคาบ
          5.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม