ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
Thai for Communication
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการสื่อสาร
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจภาษาไทยในการสื่อสาร
3. สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคื่องมือในการสื่อสาร และประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
5. ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าภาษาไทยในฐานะเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจภาษาไทยในการสื่อสาร
3. สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคื่องมือในการสื่อสาร และประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
5. ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าภาษาไทยในฐานะเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
1. พัฒนาพื้นฐานการใช้ภาษาไทยในการสื่สารของนักศึกษา
2. พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อเป็นเครื่องมือในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
3. มุ่งเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
2. พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อเป็นเครื่องมือในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
3. มุ่งเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
ศึกษาเกี่ยวกับหลักและทฤษฎีการสื่อสาร ลักษณะภาษาไทยที่ใช้ในกระบวนการสื่อสาร พัฒนาทักษะการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มีศิลปะ คุณธรรม และจริยธรรมในการสื่อสาร สามารถประยุกต์ใช้ภาษาในวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมงและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางภาษา
2) อภิปรายกลุ่ม
3) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
4) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2) อภิปรายกลุ่ม
3) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
4) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1) พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) บรรยายร่วมกับอภิปรายการทำงานกลุ่มการวิเคราะห์งานและมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
2) ให้ทำแบบฝึกหัดแบบทดสอบ
3) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2) ให้ทำแบบฝึกหัดแบบทดสอบ
3) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1) สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ
2) ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้า การรายงานการศึกษาค้นคว้า และงานที่มอบหมาย
3) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
4) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2) ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้า การรายงานการศึกษาค้นคว้า และงานที่มอบหมาย
3) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
4) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1) บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
2) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานและนำเสนอผลการศึกษา
2) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานและนำเสนอผลการศึกษา
1) สอบย่อยโดยข้อสอบเน้นการใช้ทักษะทางภาษา
2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า
2) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
2) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1) ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานกลุ่ม
2) รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2) รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
1) สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1)มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจาก websiteสื่อการสอน e-learning
และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1) การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
2) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | การทดสอบย่อยครั้งที่1 สอบกลางภาค การทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค | 15% 20% 15% 20% | ||
2 | งาน แบบฝึกหัดที่มอบหมาย | ตลอดภาค การศึกษา | 20% | |
3 | จิตพิสัย | ตลอดภาค การศึกษา | 20% |
กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. 2541. ทักษะภาษานานาวิธี. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย. 2539. การใช้ภาษาไทย 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนะเวชกุล. 2524. การเขียนรายงานจากการค้นคว้า. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ชวนเพชรแก้ว, ปรีชานุ่นสุข และ ปราณีถาวระ. 2524. การใช้ภาษา,ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :กรุงสยาม
การพิมพ์. ดนัยไชยโยธา. 2551. รู้รักภาษาไทย :สำนวนโวหาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธนูทดแทนคุณ. 2551. รู้รักษ์ภาษาไทย :ภาษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธีระพลอรุณะกสิกร และคณะ. 2540. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ.กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์วิญญูชน. นพดล จันทร์เพ็ญ. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อแกรมมี จำกัด. ประภัสสร ภัทรนาวิก. 2545. การเขียนเอกสารสำนักงาน. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปรีชาช้างขวัญยืน. 2525. ศิลปะการเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิชาการ. ปรีชาทิชินพงศ์. 2523. ลักษณะภาษาไทย, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ไพโรจน์อยู่มณเฑียร. 2540. สำนวนไทยใช้ให้เป็น, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ทฤษฎี. สมพร มันตะสูตรแพ่งพิพัฒน์. 2540. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สุธิวงศ์พงศ์ไพบูลย์. 2522. การเขียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. วิเศษ ชาญประโคน. 2550. ภาษไทยเพื่อการสื่อสาร, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น. เอกฉัทจารุเมธีชน. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
การพิมพ์. ดนัยไชยโยธา. 2551. รู้รักภาษาไทย :สำนวนโวหาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธนูทดแทนคุณ. 2551. รู้รักษ์ภาษาไทย :ภาษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธีระพลอรุณะกสิกร และคณะ. 2540. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ.กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์วิญญูชน. นพดล จันทร์เพ็ญ. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อแกรมมี จำกัด. ประภัสสร ภัทรนาวิก. 2545. การเขียนเอกสารสำนักงาน. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปรีชาช้างขวัญยืน. 2525. ศิลปะการเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิชาการ. ปรีชาทิชินพงศ์. 2523. ลักษณะภาษาไทย, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ไพโรจน์อยู่มณเฑียร. 2540. สำนวนไทยใช้ให้เป็น, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ทฤษฎี. สมพร มันตะสูตรแพ่งพิพัฒน์. 2540. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สุธิวงศ์พงศ์ไพบูลย์. 2522. การเขียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. วิเศษ ชาญประโคน. 2550. ภาษไทยเพื่อการสื่อสาร, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น. เอกฉัทจารุเมธีชน. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
-
-
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมี
ผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงโดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิด
วิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงโดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิด
วิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองดูผลการเรียนของนักศึกษาและทำรายงานสรุป
พัฒนาการของนักศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
พัฒนาการของนักศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพ
ของรายวิชาปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ของรายวิชาปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ
ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ข้อ 4) กลุ่มอาจารย์ผู้สอน
ทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอนแล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเพื่อเสนอต่อที่ประชุม
กลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุปและวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ
ทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอนแล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเพื่อเสนอต่อที่ประชุม
กลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุปและวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ