การเตรียมพร้อมสหกิจศึกษา

Pre - Cooperative Education

1.1 ให้นักศึกษาสามารถเลือกสถานประกอบการเพื่อการสหกิจศึกษาได้
1.2 มีบุคลิกภาพ มารยาทในสังคม มนุษย์สัมพันธ์ รู้จักกาลเทศะ มีความมั่นใจในตนเอง
1.3 สามารถเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานและนำเสนอได้
1.4 เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
1.5 เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้ทีได้ รับจากการเรียนในชั้นเรียนไปประยุกต์ใช้ ในการ
ปฏิบัติงานจริง

เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของความใฝ่รู้ และการพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเองเพื่อความสำเร็จในการทำงาน หรือการเรียนต่อในอนาคต
2.1 เพื่อเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาให้สามารถออกสหกิจศึกษาได้
2.2 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่ต้องการผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของตลาดแรงงานและสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ หลักการ แนวคิด กระบวนการและขั้นตอนของสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐานและเทคนิคในการสมัครงานอาชีพ ความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ การสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ ระบบบริหารงานคุณภาพในสถานประกอบการ
- เวลาให้คำปรึกษานักศึกษา หลักเลิกเรียนตั้งแต่เวลา 16.00-17.00 น
- ให้คำปรึกษา ผ่าน Line , Facebook ในบล็อกส่วนตัว
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.2 แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.4 เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
1.2.1 เน้นในเรื่องให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานในเวลาที่กำหนด 1.2.2 ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายกลุ่ม

               1.2.3 จัดกิจกรรมการพัฒนาคณะ / มหาวิทยาลัย / ชุมชน
1.3.1 เช็คชื่อการเข้าเรียน ตรวจสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และ
ตรงเวลา
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าร่วมทำกิจกรรมการพัฒนาของนักศึกษา
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 สามารถเข้าใจ ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ หลักการ แนวคิด กระบวนการและ
ขั้นตอนของสหกิจศึกษา
2.1.2 ความรู้พื้นฐานและเทคนิคการสมัครงาน
2.1.3 ความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ การสื่อสารและมนุษย-
สัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ ระบบบริหารงานคุณภาพในสถานประกอบการ
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานที่เกี่ยวข้องกับสหกิจ-
ศึกษา
2.2.2 มอบหมายให้ทำโครงงานเกี่ยวกับสหกิจศึกษา โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอการสมัครงาน การสื่อสารและมนุษย-
สัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ
2.3.1 ประเมินผลทักษะการคิดเชื่อมโยง และการประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานในการ
ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.3 ปนะเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการพัฒนาบุคลิกภาพด้านต่างๆ เพื่อการสหกิจศึกษา
3.1.2 พัฒนาความสามารถในการปฏิบัติงานจริง
3.1.3 พัฒนาการใฝ่หาความรู้
3.2.1 มีการมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา บทความ การพัฒนาตนเองและ การ
ทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานให้ตรง
ตามวัตถุประสงค์
3.2.2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ วิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติ ในแนวทาง
สหกิจศึกษามาใช้อย่างเหมาะสมด้วยการแก้ปัญหาจากการสิบค้นข้อมูลจริง
3.2.3 มอบหมายงานการสืบค้นข้อมูลจากตำรา เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา ให้มี
การเตรียมความพร้อมในการทำงานสถานประกอบการ เพื่อเป็นการเรียนวิธีการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
3.3.1 วัดผลจากการประเมินโครงการที่มอบหมาย การนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4.1.1 พัฒนาให้นักศึกษาสามารถทำงานกลุ่มหรือผู้อื่นได้
4.1.2 พัฒนาให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึกภาคปฏิบัติเป็นกลุ่ม
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการศึกษาด้วย
ตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะการนำเสนอโครงงาน และรายงาน การสื่อสารความหมายโดยใน
เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.2 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอ
รายงาน
5.1.3 พัฒนาทักษะความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติตามหลักการนวัตกรรมและ
งานจากการตัวอย่างการปฏิบัติงานจริงที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอโครงงานด้วย
ข้อมูลโดยเน้นหลักคณิตศาสตร์หรือสถิติ
5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.2.1 มอบหมายรายงาน โครงงานหัวข้อพิเศษเกี่ยวกับโครงงานของการสหกิจศึกษา
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข
หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 บรรยายและแนะนำหลักการพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติสำหรับการใช้สำหรับการนำเสนองาน นำเสนอกรณีศึกษาด้านปัญหาสหกิจศึกษาโดยเน้นการนำตัวเลข
หรือสถิติมาอ้างอิง
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยตัวเลข และเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3 ประเมินจากการนำเสนอบทความและวัดผลจากคำศัพท์
6.1.1 พัฒนามีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ
ปฏิบัติงาน
6.1.2 พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานกลุ่มและการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.2.1 ผู้สอนแนะนำวิธีการนำหลักการการสหกิจศึกษามาวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทาง
ในการหาทางออกของปัญหา
6.2.2 ควบคุมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาให้มีความถูกต้องตามวิธีการที่กำหนด
6.3.1 บันทึกผลเวลาการปฏิบัติ การใช้เครื่องมือ และประเมินจากรายงาน
6.3.2 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 34081311 การเตรียมพร้อมสหกิจศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1,3.2, 3.3, 4.4, 4.5, 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 6.1, 6.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ งานที่ได้รับมอบหมาย การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 90%
2 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1,3.2, 3.3, 4.4, 4.5, 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 6.1, 6.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 การพัฒนาบุคลิกภาพ
1) พิมลพรรณ เชื้อบางแก้ว. 2549. การพัฒนาบุคลิกภาพ Personality development ;
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. พิมพ์ครั้งที่ 6 – กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย.
1.2 การสัมภาษณ์งาน
1) คมกฤช ชนะศรี. 2549. คู่มือการสมัครงานของนักศึกษา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา
2) วีระวัฒน์ ปันนิตานัย. 2544. คู่มือการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง : จากหลักวิธีสู่แนวปฏิบัติ
ที่ดี. กรุงเทพมหานคร. เอชอาร์ เซ็นเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. หน้า 281.
1.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
1) ศิริชัย พงษ์วิชัย. 2551. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์ : เน้นสำหรับงานวิจัย.
ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2) สุภางค์ จันทวานิช. 2551. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 8กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 177 หน้า.
เอกสารสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับสหกิจศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
              1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
              1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
              1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ
ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ