การจัดการความรู้
Knowledge Management
มีความรู้ความเข้าใจในด้านความรู้ การจัดการความรู้ การพัฒนาและสร้างองค์ความรู้
เข้าใจรูปแบบ วิธีการ กระบวนการในการจัดการความรู้
มีทักษะในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้
เข้าใจรูปแบบ วิธีการ กระบวนการในการจัดการความรู้
มีทักษะในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านการบริหารจัดการของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ศึกษาทฤษฎีและกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การสร้างสรรค์ความรู้ ทุนทางปัญญา ทฤษฎีวงจรการเรียนรู้ การจัดการการเปลี่ยนแปลง ระบบการจัดการความรู้และการประยุกต์ กรณีความสำเร็จของการจัดการความรู้
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
กำหนดระยะเวลาในการเข้าเรียนโดยเน้นให้นักศึกษาเข้าเรียนในตรงต่อเวลา แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
กำหนดให้นักศึกษาทำงานโดยฝึกปฏิบัติในการออกแบบรูปแบบการใช้งานองค์ความรู้ โดยทำงานกลุ่ม
นำเสนองานกลุ่ม และอภิปรายผลงาน
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
การนำเสนอและอภิปราย
- มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
- มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์
- มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในการจัดการความรู้ โดยใช้รูปแบบของแบบจำลองแบบต่าง ๆ
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
- นำเสนอผลงาน
- นำเสนอผลงาน
สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
กำหนดการจัดทำการทำงานเป็นกลุ่ม โดยมีการฝึกปฏิบัติในการจัดทำการจัดการความรู้ และนำมาอภิปรายสรุปประเด็นของการจัดการความรู้
- นำเสนอผลงานจากการฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม และการอภิปรายในชิ้นงาน
มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
กำหนดให้นักศึกษาทำงานโดยฝึกปฏิบัติงานโดยมีส่วนร่วมกับบุคคลอื่น ๆ
นำเสนอผลงาน และตอบข้อซักถามของอาจารย์
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบ การเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
กำหนดให้นักศึกษาทำงาน โดยกำหนดรูปแบบงานที่ให้นักศึกษาสามารถเลือกแบบจำลองการจัดการความรู้มาประยุกต์ในกระบวนการได้อย่างเหมาะสม นำเสนอผลงาน จัดส่งผลงาน
- นำเสนอผลงานที่ทำงาน และตอบข้อซักถามของอาจารย์
- ตรวจรายงาน
- ตรวจรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1 คุณธรรม จริยธรรม | 2 ความรู้ | 3 ทักษะทางปัญญา | 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5 ทักษะคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
1 | 12011307 | การจัดการความรู้ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.4 2.1 2.2 3.2 4.2 5.4 | - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค | 9, 17 | 40% |
2 | 1.4 2.1 2.2 3.2 4.2 5.4 | - การทำกิจกรรมการจัดการความรู้ประกอบหน่วยที่ 1,2,3,4,5 โดยกลุ่มย่อย - การนำเสนอ - การอภิปรายร่วมกัน | 3, 6, 10, 13, 16 | 25% |
3 | 1.4 2.1 2.2 3.2 4.2 5.4 | - การทำกิจกรรมการจัดการความรู้ โดยกลุ่มใหญ่ - การนำเสนอ - การอภิปรายร่วมกัน | 16 | 25% |
4 | 1.4 4.2 5.2 | - พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเรียน - การทำกิจกรรมกลุ่ม | ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ผศ.พรรณี สวนเพลง เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมสำหรับการจัดการความรู้. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2547.
วศิน เพิ่มทรัพย์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2550.
วิจารณ์ พานิช การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2547.
โอภาส เอี่ยมศิริวงษ์ วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2550.
วศิน เพิ่มทรัพย์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2550.
วิจารณ์ พานิช การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2547.
โอภาส เอี่ยมศิริวงษ์ วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2550.
-
www.wikipedia.com
www.dusit.ac.th
www.ku.ac.th
www.dusit.ac.th
www.ku.ac.th
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-ผลการสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
-การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
-การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบในผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4