เหตุการณ์ปัจจุบันของโลก

World Today

1. อธิบายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความหมาย ขอบเขตของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้
3. บอกผลกระทบด้านบวก-ด้านลบ ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้
4   บอกจุดมุ่งหมายของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมได้
5. วิเคราะห์ผลกระทบด้านบวก-ด้านลบของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและ
     วัฒนธรรมได้
6. วิเคราะห์เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและโลกได้
7. วิเคราะห์ผลกระทบของเหตุการณ์ปัจจุบันที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
8. สามารถปรับตัวเองให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ปัจจุบันและดำรงชีวิต
   ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เหตุการณ์ต่างๆในปัจจุบัน รวมทั้งสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา ช่วยให้นักศึกษามีความตระหนักและเข้าใจ ว่ามนุษย์จะดำรงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจในตนเอง ผู้อื่นรวมถึงสังคมโลก มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
ศึกษาถึงความหมาย ลักษณะ ขอบเขต และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในปัจจุบัน
1. อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าห้องพักอาจารย์
2. อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
 (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 การบรรยาย
1.2.2 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
1.2.3 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
1.2.4 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
1.2.5 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
1.2.6 กรณีศึกษา (Case Studies)
1.2.7 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ
1.2.8 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
1.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
1.3.2 ประเมินจากการมีระเบียบวินัยของนักศึกษา
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ประเมินจากการทำแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
นักศึกษาได้เรียนรู้และศึกษาความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้นได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้ มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคมเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต
2.2.1 การบรรยาย
2.2.2 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
2.2.3 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
2.2.4 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
2.2.5 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
2.2.6 กรณีศึกษา (Case Studies)
2.2.7 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ
2.2.8 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
2.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
2.3.2 ประเมินจากการมีระเบียบวินัยของนักศึกษา
2.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.3.4 ปริเมินจากการทำแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาและจากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมมาใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้
3.2.1 นักศึกษาศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการศึกษาอย่างถูกต้องเหมาะสม
3.2.2 การบรรยาย
3.2.3 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
3.2.4 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
3.2.5 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
3.3.6 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
3.3.7 กรณีศึกษา (Case Studies)
3.3.8 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ
3.3.9 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
3.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
3.3.2 ประเมินจากการมีระเบียบวินัยของนักศึกษา
3.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3.3.4 ปริเมินจากการทำแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
4.2.1 การบรรยาย
4.2.2 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4.2.3 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
4.2.4 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
4.3.5 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
4.3.6 กรณีศึกษา (Case Studies)
4.3.7 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ
4.3.8 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
4.2.1 การบรรยาย
4.2.2 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4.2.3 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
4.2.4 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
4.3.5 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
4.3.6 กรณีศึกษา (Case Studies)
4.3.7 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ
4.3.8 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
4.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
4.3.2 ประเมินจากการมีระเบียบวินัยของนักศึกษา
4.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.3.4 ปริเมินจากการทำแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 การบรรยาย
5.2.2 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5.2.3 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
5.2.4 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
5.3.5 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
5.3.6 กรณีศึกษา (Case Studies)
5.3.7 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ
5.3.8 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
6.2.1 ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ เวปไซค์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
6.2.2 การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
6.2.3 การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion )
6.2.4 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
6.3.5 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6.3.6 กรณีศึกษา (Case Studies)
6.3.7 การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ แบบ Shoreline Method
6.3.8 การสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามของ Bloom
6.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
6.3.2 ประเมินจากการมีระเบียบวินัยของนักศึกษา
6.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
6.3.4 ปริเมินจากการทำแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.3, 3.3, 4,3, 5.3 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 2. สอบกลางภาค 3. ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 4. การนำเสนอผลงาน 5. สอบปลายภาค 5, 8, 13, 16, 18 5%, 20%, 5%, 10%, 30%
2 1.3, 2.3, 3.3, 4,3, 5.3 การนำเสนองาน, การทำงานกลุ่ม, การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.3, 3.3, 4,3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารอัดสำเนาประกอบการเรียนการสอนวิชา เหตุการณ์ปัจจุบันของโลก (World Today)
1.หนังสือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขียนโดย รศ.ดร.กระมล ทองธรรมชาติ
2.บทความทางวิชาการจากคอลัมน์ ก้าวทันโลก ในนิตยสาร ขวัญเรือน
3.หนังสือเหตุการณ์โลกในยุคปัจจุบัน เขียนโดยคณาจารย์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต
กนกวรรณ พรมสอน และคนอื่น ๆ. (2538). เหตุการณ์ในโลกปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
จุลชีพ ชินวรรณโณ. (2542). สู่สหัสวรรษที่ 3 To wards The Third Millennium. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชัยอนันต์ สมุทวนิช. (2541). ทฤษฎีใหม่ : มิติที่ยิ่งใหญ่ทางความคิด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุขุมและบุตร.
สุทธิชัย หยุ่น. (ม.ป.ป.). อภิมหาวินาศกรรมอเมริกา เปิดแฟ้มลับเส้นทางชีวิต มหาบุรุษหรือมหาโจร บิน ลาเดน. กรุงเทพฯ : เนชั่น มัลติมีเดีย.
1.ข่าวสารต่างๆ จากหนังสือพิมพ์รายวัน และรายสัปดาห์
2.www.oknation.com
3.www.youtube.com
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จากการที่นักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำข้อมูลต่างๆ ที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ มาใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ดังนี้

การแบ่งกลุ่ม นศ. ศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลและนำเสนอหน้าชั้นเรียน การสนทนา อภิปราย แสดงความคิดเห็นในกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ใช้การสังเกต
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 ผลการนำเสนอ/ผลงานของ นศ.
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3.2 การสอนโดยให้ นศ. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากที่สุด
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจาก การเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ