พฤติกรรมองค์การ

Organizational Behavior

1.เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมระดับส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน
2.เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมระดับกลุ่มที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน
3.เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมระดับองค์การที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน
4.เข้าใจสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในองค์การ
เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรบริหารธุรกิจสาขาวิชาการจัดการธุรกิจเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรมองค์การเนื่องจากทฤษฎีหรือแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง และเพื่อที่จะทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดังนั้นจะต้องมีการปรับให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในการทำงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมทั้งระดับส่วนบุคคลระดับกลุ่มและระดับองค์การที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงานภายในองค์การที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยศึกษาถึงสภาพแวดล้อมทั่วไปที่จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในองค์การการรับรู้ทัศนคติความพึงพอใจในงานการจูงใจการทำงานเป็นทีมกระบวนการสื่อสารการเป็นผู้นำและการบริหารความขัดแย้งในองค์การ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล ตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์  
1.มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
2.มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
3.มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
4.มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
5.มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1.ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัย โดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในการมีคุณธรรม จริยธรรม
3.กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตในการสอบ
4.มีกิจกรรมที่ส่งเสริมในเรื่องความเสียสละเพื่อส่วนรวม และบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
1.ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา และเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2.ประเมินจากผลงานในการนำเสนอผลงาน
3.จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ หรือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ
4.ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
1.มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์
 
1.ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
 
 
1.การทดสอบย่อย
2.การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
3.ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
4.ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
1.สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
2.สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
 
1.ศึกษาจากกรณีศึกษาทางการจัดการ  
2.มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษา และปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข
 
1.ประเมินจากการนำเสนองานมอบหมายและการอภิปรายกรณีศึกษา
2.ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา 
1.มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
2.มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
1.มอบหมายงานที่ต้องใช้การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
2.มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
1.ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรม
2.ประเมินจากผลงานนักศึกษารายบุคคล
3.มีการร่วมประเมินทั้งอาจารย์และนักศึกษา
1.สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2.ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้
3.มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม 1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม 1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว 2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม 3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้ 4.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา 4.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
1 12011202 พฤติกรรมองค์การ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 ,1.3 3.1, 3.2 , 3.3 4.1, 4.2 5.1,5.2 ,5.3, - วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า - การทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค - การวิเคราะห์กรณีศึกษา และหาแนวทางแก้ไขปัญหา -การทำงานตามมอบหมาย - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 2.1, 2.2, 2.3, 2.4 - สอบกลางภาค 9 30%
3 2.1, 2.2, 2.3, 2.4 - สอบปลายภาค 17 40%
4 1.1, 1.2 ,1.3 -การเข้าชั้นเรียน -การเข้าร่วมกิจกรรมทางมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.นิติพล  ภูตะโชติ. 2556.พฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2.ณัฏฐพันธ์เขจรนันทน์.2551.พฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพฯ.บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจากัด (มหาชน).
3.สุพานี สฤษฎ์วานิช.2552.พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ : แนวคิดและทฤษฎี.กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด (มหาชน).
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาที่กำหนด และห้องสมุดมหาวิทยาลัย
-สนทนาระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนเพื่อระดมความคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเนื้อหาปัญหาและการสรุปประเด็นความคิด
- ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการออกแบบการนำเสนอผลการทำงาน
- ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอน
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากการร่วมทำกิจกรรมและการนำเสนอผลงานการวิเคราะห์ของนักศึกษาการสอบ ทดย่อยการสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- ปรับปรุงเนื้อหาและตัวอย่างให้ทันสมัยอยู่เสมอ
 - ให้นักศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชามานำเสนอการทำวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
- มีการตรวจแบบฝึกหัดตรวจทดสอบย่อยตรวจข้อสอบและร่วมกันอภิปรายข้อสรุปของการวิเคราะห์
 - มีการวัดความรู้นักศึกษาและแจ้งผลให้ทราบเป็นระยะ
 - ให้นักศึกษาสามารถตรวจสอบการให้คะแนนการสอบเก็บคะแนนได้
 - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจโดยอาจารย์ท่านอื่นๆที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน
- ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะ
- นำข้อคิดเห็นของนักศึกษามาประมวลเพื่อปรับปรุงเนื้อหาและการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป
- นำผลการประเมินการสอนของตนเองมาจัดเทียบเคียงกับข้อคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัย ปรับวิธีการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผลให้ตรงกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง