การจัดการความเสี่ยง

Risk Management

1. รู้ความหมายและความสำคัญของผลกระทบของความเสี่ยง
2. เข้าใจการกำหนดวัตถุประสงค์ ระบุความเสี่ยง และประเภทของความเสี่ยง
3. เข้าใจแนวทางการประเมินความเสี่ยง
4. ทำแผนการจัดการความเสี่ยง ติดตามประเมินผล และรายงานความเสี่ยง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการเรียนรู้กระบวนการบริหารความเสี่ยง และแนวทางการจัดการความเสี่ยงเพื่อติดตามและประเมินผลความเสี่ยง
ศึกษาความหมาย ความสำคัญและผลกระทบของความเสี่ยง กระบวนการของการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง ประเภทของความเสี่ยง ฝึกทักษะในการประเมินความเสี่ยง การจัดทำแผนการจัดการความเสี่ยง การติดตามประเมินผลและการรายงานความเสี่ยง
1 ชั่วโมง ให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการในพุธ ระหว่างเวลา 13.00 – 14.00 น.
ที่ห้องพักอาจารย์สาขาการจัดการ
1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 
2.มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน 
1.ใช้การสอนแบบบรรยาย ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.มอบหมายให้ค้นคว้า/ทำแบบฝึกหัด/วิเคราะห์กรณีศึกษา/นำเสนอหน้าชั้นเรียน
1.ประเมินจากทดสอบ ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1.สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จาก หลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 
2.สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจาก ทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือก ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน ทางธุรกิจ 
มอบหมายงานการสืบค้น วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ทางเลือกและแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาและข้อมูลจากสถานประกอบการ
 
ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไข ปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม 
มอบหมายงานกลุ่มและให้นำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น
ประเมินจากการนำเสนอและการตอบคำถาม
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 
มอบหมายงานที่ต้องใช้การตัดสินใจจากฐานข้อมูลเชิงตัวเลข
ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่ส าคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน 1.สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จาก หลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 2.สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจาก ทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือก ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน ทางธุรกิจ มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไข ปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.ใช้การสอนแบบบรรยาย ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2.มอบหมายให้ค้นคว้า/ทำแบบฝึกหัด/วิเคราะห์กรณีศึกษา/นำเสนอหน้าชั้นเรีย มอบหมายงานการสืบค้น วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ทางเลือกและแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาและข้อมูลจากสถานประกอบการ มอบหมายงานกลุ่มและให้นำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น มอบหมายงานที่ต้องใช้การตัดสินใจจากฐานข้อมูลเชิงตัวเลข
1 BBABA213 การจัดการความเสี่ยง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียนที่ 1-5 - ตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา - ตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษาและงานมอบหมาย - สังเกตการนำเสนอผลงานและตอบคำถามของนักศึกษา 1-8 และ 10-16 30
2 หน่วยเรียนที่ 1-3 แบบทดสอบกลางภาค 9 30
3 หน่วยเรียนที่ 4-5 แบบทดสอบปลายภาค 17 30
4 คุณธรรม จริยธรรม และการเคารพกฎระเบียบ - การเข้าเรียนประเมินผลจากการลงลายมือชื่อเข้าเรียน - การแต่งกายประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน - ส่งงาน ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนดเวลา - จรรยาบรรณ ประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน 1-17 10
จิรพร  สุเมธีประสิทธิ์และคณะ. การบริหารความเสี่ยงอย่างมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร :
        แมคกรอ-ฮิล, 2556.
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คู่มือการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้ง
        องค์กร. ม.ป.ป.
คู่มือการบริหารความเสี่ยงขององค์กรต่าง ๆ
ให้นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษ
การปรับปรุงเนื้อหาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง การนำผลการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อการสอน
การทวนสอบผลคะแนนโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน