การเขียนเชิงสร้างสรรค์

Creative Writing

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ การ ใช้คำ ประโยค สำนวน โวหาร การย่อหน้า การตั้งชื่อเรื่อง การเรียบเรียงเนื้อหา การเขียนความ เรียงเชิงสร้างสรรค์ การเขียนบทความเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเรื่องสั้นเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเรื่อง สั้นเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเรื่องสำหรับเด็กเชิงสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์งานเขียนสำหรับชุมชน และการสร้างสรรค์งานเขียงเฉพาะตน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์และการเขียนเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานการเรียนรู้รายวิชาอื่น ๆ การประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวิตประจำวันต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ การใช้คำ ประโยค สำนวน โวหาร การ
ย่อหน้า การตั้งชื่อเรื่อง การเรียบเรียงเนื้อหา การเขียนความเรียงเชิงสร้างสรรค์ การเขียนบทความเชิง สร้างสรรค์ การเขียนเรื่องสั้นเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเรื่องสั้นเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเรื่องสำหรับเด็กเชิง สร้างสรรค์ การสร้างสรรค์งานเขียนสำหรับชุมชน และการสร้างสรรค์งานเขียงเฉพาะตน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะ รายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีความซื่อสัตย์ มีจรรยาบรรณ ในการสร้างสรรค์
งานเขียน ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
1.2.1 บรรยายและอภิปราย พร้อมยกตัวอย่าง งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ประกอบ เกี่ยวกับ
ลิขสิทธิ์ทางปัญญา และจรรยาบรรณในการสร้างสรรค์งานเขียน
1.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหรือ หาตัวอย่าง งานเขียน ที่เกี่ยวข้อง หรือ ที่สนใจ เพื่อเป็นแรง
บันดาลใจในการสร้างสรรค์งานเขียน
1.2.3 การใช้แบบฝึกเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และการใช้ผังมโนทัศน์ในการพัฒนา ทักษะการเขียน
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
1.3.2 ประเมินความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์สุจริต การมีคุณธรรม
จริยธรรม และการมีจรรยาบรรณงานเขียน จากงานเขียนที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3 ประเมินผลการเรียนรู้จากแบบฝึกเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการใช้ผังมโน
ทัศน์ในการพัฒนาทักษะการเขียน
1.3.4 ประเมินผลงานเขียนสร้างสรรค์จากแบบประเมินผลงานเขียนสร้างสรรค์
2.1.1 การคิดสร้างสรรค์
2.1.2 การเขียนเชิงสร้างสรรค์
2.1.3 การใช้คำ ประโยค สำนวน โวหาร การย่อหน้า การตั้งชื่อเรื่อง การเรียบเรียง

 
เนื้อหา
 
 
 
2.1.4 การเขียนความเรียงเชิงสร้างสรรค์
2.1.5 การเขียนบทความเชิงสร้างสรรค์
2.1.6 การเขียนเรื่องสั้นเชิงสร้างสรรค์
2.1.7 การเขียนเรื่องสำหรับเด็กเชิงสร้างสรรค์
2.1 8 การสร้างสรรค์งานเขียนสำหรับชุมชน
2.1.9 การสร้างสรรค์งานเขียงเฉพาะตน
2.2.1 บรรยาย อภิปราย และใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เทคนิคการจัดการความรู้ (Knowledge Management Technique) และการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 ศึกษากรณีตัวอย่าง (Case Study) จากงานเขียนที่เกี่ยวข้อง มาน าเสนอพร้อม อภิปราย และเรียนรู้ร่วมกัน
2.2.3 การน าเสนอโครงงานการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สำหรับการสร้างสรรค์งานเขียนที่สนใจ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ

ทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากการน าเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
2.3.3 ประเมินจากโครงงานการเขียนเชิงสร้างสรรค์
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิด เชื่อมโยงสร้างสรรค์ สมเหตุสมผล เพื่อนำไปใช้ในการเขียน ฝึกให้นักศึกษาทำงานอย่างเป็นระบบ มองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดแนวคิดและ มีข้อมูลในการเขียนที่เกิดจากการปฏิบัติและลงมือทำด้วยตนเองอย่างแท้จริง (Learning by Doing)
3.2.1 ศึกษาตัวอย่างงานเขียนและฝึกทักษะการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ
3.2.2 ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) เทคนิคการเรียนรู้แบบ

่วมมือ (Cooperative Learning) ตลอดภาคเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ฝึกการอภิปรายกลุ่ม

โดยเน้นการฝึกปฏิบัติ เพื่อการจัดลำดับและประเด็นความคิด หลักการ เหตุผล ความคิดเห็นและ แนวคิด
3.2.3 ทำโครงงานการเขียนเชิงสร้างสรรค์
3.2.4 การสะท้อนแนวความคิดจากพฤติกรรมการเรียนการสอน
3.3.1 ประเมินจากการน าความรู้ด้านการคิดสร้างสรรค์ไปใช้ในการพัฒนาการเขียน
3.3.2 สังเกตการณ์การร่วมอภิปรายและการแสดงความคิดเห็น
3.3.3 ประเมินพฤติกรรมการสื่อสาร (อันเป็นผลมาจากวิธีคิดและพฤติกรรมภายใน)
3.3.4 ประเมินผลงานการเขียนเชิงสร้างสรรค์ประเภทต่างๆ
3.3.5 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการท างานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
ตามกำหนด
4.2.1 มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.2.2 จัดกิจกรรมกลุ่มในการปฏิบัติงานในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
4.2.3 การน าเสนอผลงานการเขียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.3.1 ผู้สอนสังเกตการน าเสนอผลงาน พฤติกรรมการท างานเป็นทีม
4.3.2 ผู้เรียนประเมินตนเองและเพื่อน ตามประเด็นกำหนด
4.3.3 ตรวจผลงานการเขียนสรุปการท างานของทีม เขียนส่งเป็นรายบุคคล
4.3.4 ตรวจบันทึกการจัดการความรู้
5.1.1 ฝึกทักษะการประเมินสถานการณ์ของทีมปฏิบัติงาน โดยอาศัยข้อมูลความน่าจะ เป็น (การคาดการณ์จากสถิติความเป็นไปได้ก่อนหน้า)
5.1.2 ทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร ของทีมปฏิบัติงานในรายวิชา
5.1.3 ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน การ นำเสนอในชั้นเรียน
5.1.4 ทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีในการน าเสนอผลงาน
5.2.1 ฝึกทีมปฏิบัติงานในรายวิชา เขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ประเด็นการประเมิน
สถานการณ์ การคาดการณ์จากสถิติความเป็นไปได้ก่อนหน้า
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E – Learning
การเขียนของมหาวิทยาลัยต่างๆ
5.2.3 น าเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 สังเกตพฤติกรรมในการสื่อสารและการปฏิบัติงานเป็นทีม
5.3.2 ตรวจสอบความเหมาะสมในการเลือกใช้สื่อเทคโนโลยี
5.3.3 ตรวจผลงาน
5.3.4 ตรวจบันทึกการจัดการความรู้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.3 3.1,3.3 1.1, 1.2, 1.3,2.1, 2.2,2.3, 3.1,3.2,3.3,4.1,4.2,4.3 5.1,5.2,5.3 1.1,3.1,4.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค การท าแบบฝึก การท างานกลุ่ม การส่ง งานตามที่มอบหมายการน าเสนองาน การ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเองจากแหล่ง เรียนรู้อื่น การเข้าชั้นเรียนการมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งงานที่ ได้รับมอบหมายครบตามขอบเขตที่ให้และ ตรงเวลา 8 17 ตลอดภาค การศึกษา ตลอดภาค การศึกษา 20% 20% 50% 10%
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. คิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking). กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2545. ฉลวย สุรสิทธิ์. ศิลปะการเขียน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2523.
ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ความคิดสร้างสรรค์ . กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุธาการพิมพ์ จ ากัด, 2546.
ถวัลย์ มาศจรัส. การเขียนเชิงสร้างสรรค์เพื่อการศึกษาและอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด, 2552.
ประภาศรี สีหอำไพ. การเขียนแบบสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง, 2531.
ปราณี สุรสิทธิ์. การเขียนสร้างสรรค์ เชิงวารสารศาสตร์. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2541. ปรีชา ช้างขวัญยืน. ศิลปะการเขียน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เทพประทานพร, 2525.

 

พิสมัย อำไพพันธุ์. การเขียนสร้างสรรค์.  
เชียงใหม่: คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2537.

 

ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง. การพัฒนาทักษะการเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.

 

ทองสุก เกตุโรจน์. การเขียนแบบสร้างสรรค.์
2546.  
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,

 

ศิวกานท์ ปทุมสูติ . การเขียนสร้างสรรค์ไม่ยากอะไรเลย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด นวสาส์น
 

 

การพมิมพ์, 2548

 

อารี พันธ์มณี. ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ใยไหม, 2547.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา จากการจัดกิจกรรมในการน า
แนวคิด และความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 ตอบแบบสอบถามเพื่อประเมินผู้สอน และประเมินรายวิชา
1.3 ให้ข้อเสนอแนะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตามที่ผู้สอนทำเป็นช่องทางสื่อสารกับ นักศึกษา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้ 2.1 ระดับผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
เมื่อได้ผลประเมินการสอน นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาแนวทางพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอน
ให้ดีขึ้น โดยการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยชั้นเรียน
4.1 ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในผลการเรียนรู้ที่วัดและ
ประเมินผลผ่านแล้ว
4.2 ในการสอบปลายภาคให้มีการวัดและประเมินผลผลการเรียนรู้ที่สำคัญๆ อีกครั้ง
4.3 ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการสอบปฏิบัติในผลการเรียนรู้ที่วัดและ
ประเมินผลผ่านมาแล้ว
4.4 การตรวจผลงานในผลการเรียนรู้ที่วัดและประเมินผลผ่านมาแล้ว
จากการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุง
การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
1) ปรับปรุงรายวิชาอย่างน้อยทุก 3 ปี เชื่อตามข้อเสนอแนะและผลการทบทวนผลสัมฤทธิ์
2) เปลี่ยนหรือจัดการเรียนการสอนเป็นทีมหรือแบ่งหัวข้อ/ผลการเรียนรู้ในการสอนของ
อาจารย์ประจำวิชานี้