การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

Field Crops Seed Production

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 เข้าใจความสำคัญและสถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่เศรษฐกิจ
1.2 เข้าใจถึงวิธีการสร้างและการพัฒนาของเมล็ดพันธุ์
1.3 เข้าใจขั้นตอน หลักการผลิตเมล็ดพันธุ์ ระยะห่างในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่
1.4 เข้าใจการผลิตเมล็ดพันธุ์ตระกูลธัญพืช ถั่ว พืชเส้นใย ละหุ่ง ทานตะวัน ฯลฯ
1.5 เข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานและการรับรองเมล็ดพันธุ์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ การสร้างและการพัฒนาของเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์และขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์ หลักการและระยะห่างในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช ธัญพืช ถั่ว พืชเส้นใย ละหุ่ง ทานตะวัน ฯลฯ การควบคุมคุณภาพของเมล็ด พันธุ์ตามมาตรฐานและการรับรองเมล็ดพันธุ์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315
3.2 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th หรือ k_rujiphot@gmail.com  ทุกวัน
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
2. การสอนแบบ Brain Storming Group
1. การสังเกต/ถาม-ตอบ
2. แบบทดสอบ
3. งานมอบหมาย/รายงาน
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point/clip vdo
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกต/ถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย/รายงาน
3. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point/clip vdo
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การสังเกต/ถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย/รายงาน
3. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point/clip vdo
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกต/ถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย
3. การประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อ power point/clip vdo
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน และ/หรือวาจาประกอบสื่อ Power point
1. การสังเกต/ถาม-ตอบ
2. งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
3. การนำเสนองานมอบหมาย/รายงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 21022324 การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3, 3.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-17 5%
2 4.1, 4.2, 4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-17 5%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.5 การสอบกลางภาค 9 30%
4 1.3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 3-16 30%
5 1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30%
จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. กลุ่มหนังสือเกษตร, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ 210 น.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2542. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 276 น.
สถาบันวิจัยพืชไร่. 2537. การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่. กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 124 น.
- พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518
- พระราชบัญญัติพันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
- สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย/http://seed.or.th/
- http://www.doa.go.th/กรมวิชาการเกษตร / ศูนย์วิจัยพืชไร่ / ผลงานวิจัย / งานผลิตเมล็ดพันธุ์
-
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป