วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 2

Electronic Circuits 2

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติและการประยุกต์ใช้งานออปแอมป์
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวงจรขยายที่มีการป้อนกลับ
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวงจรกรองความถี่
4. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวงจรกําเนิดความถี่และเฟสล็อกลูป
5. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวงจรขยายเฉพาะช่วงความถี่
6. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
7. เห็นความสําคัญของวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 2
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์  การแก้ไขปัญหาต่างๆ ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์  การนําเอาไปใช้ในงานที่เกี่ยวข้อง และสามารถนําเอาไปประยุกต์ใช้งาน ต่อไป
 ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติและการประยุกต์ใช้งานออปแอมป์  วงจรขยายที่มีการป้อนกลับ  วงจรกรองความถี่  วงจรกําเนิดความถี่และเฟสล็อกลูป  วงจรขยายเฉพาะช่วงความถี่  แหล่งงจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 
1 ชั่วโมง / สัปดาห์
2.1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทาความดีและเสียสละ
2.1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 2.1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2.1.3.3 ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ 2.1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2.1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทางาน (Work Integrated Learning) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2.2.3.1 การทดสอบย่อย 2.2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 2.2.3.5 ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 2.3.3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทางาน (Work Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จาลอง และกรณีศึกษาของแต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้องและเน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
2.3.3.1 บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จาลอง 2.3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ 2.3.3.3 การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.3.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
2.4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2.4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.4.1.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2.4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2.4.2.1 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 2.4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2.4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 2.4.2.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 2.4.2.5 มีภาวะผู้นาและผู้ตาม 2.4.2.6 มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และสามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
2.4.3.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน 2.4.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
2.5.2.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 2.5.2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล 2.5.2.3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนาเสนอผลงาน 2.5.2.4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
2.5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร 2.5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล 2.5.3.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน 2.5.3.4 จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 1 2
1 32013207 วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. ชูชัย  ธนสารต้ังเจริญ . ทฤษฎีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์ , 2541.
2. ดํารง  จีนขาวขํา. การออกแบบและการทดลองวงจรออปแอมป์ . กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.  3. มนตรี ศิริปรัชญานันท์. ผู้ช่วยศาสตราจารย์. เอกสารประกอบการสอน วิชา 223361 Communication Electronics  เรื่อง เฟสล็อคลูป Phase Locked Loop (PLL). ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้ า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.  4. ผศ.ดร.นิพนธ์ สุขม . หลักการประยุกต์ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง : 2527. 
5. พันธ์ศักด์ิ  พุฒิมานิตพงษ์ . อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร.  กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ศูนย์ งเสริมวิชาการ ,2542. 
6. สมศักกด์ิ ธนพุทธิวิโรจน์. Electronics Circuit Analysis .สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขต อีสาน : ขอนแก่น.  7. Ali Aminian , Marian k. kazimierczuk . ELECTRONIC DEVICE A Design Approach .earson International Edition. New Jersey : Pearson Prentice HallTM. 2004. 
8. Denton J. Dailey. Electronic Devices and Circuits. Discrete and Integrated. New Jersey : Prentice Hall, Inc. 2001.  9. Donald A. Neamen. Electronic Circuit Analysis and Design. Second Edition. Singapore : MzGraw-Hill. 2001.  10. Robert L. Boylestad , Louis Nashelsky. Electronic Devices and Circuits Theory. Ninth Edition. New Jersey : Prentice Hall, Inc. 2006. 
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกช้ันเรียน 
4.1   มีการต้ังคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร 
5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิตามข้อ 4