การดูแลรักษาภูมิทัศน์

Landscape Maintenance

1.มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการงานดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์
2.เข้าใจขอบข่ายของงานการดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์
3.รู้วิธีการดูแลบำรุงรักษาสนามหญ้า
4.รู้วิธีการดูแลบำรุงรักษาพืชพรรณ
5.รู้วิธีการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงงานภูมิทัศน์ดาดแข็ง
6.รู้จักการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้งานดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์
7.เข้าใจหลักการวางแผนดำเนินธุรกิจงานดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์
8.เข้าใจการประเมินราคางานดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการงานดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสำคัญของการดูแลรักษาภูมิทัศน์ วิธีการดูแลรักษาภูมิทัศน์ การจัดการในการดูแลรักษาภูมิทัศน์ การศึกษากรณีศึกษาการดูแลรักษาภูมิทัศน์ และปฏิบัติการดูแลรักษาภูมิทัศน์
Study and practice on. The importance of maintaining the landscape. How to maintain the landscape.Management to maintain the landscape. Case studies of landscape maintenance. Operating and maintaining the landscape.
    จำนวนชั่วโมงให้คำปรึกษา                         5 ชั่วโมงต่อสับปดาห์
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
     1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
     1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 
  1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา  
  1.พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
  1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
  1.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม)
2.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม)
3.ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะในการสื่อสาร)
 
1.พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
 
1.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม)
2.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม)
3.ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะในการสื่อสาร)
ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.อภิปรายกลุ่ม
6.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
 
1.ทดสอบย่อย
2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
1.ทดสอบย่อย
2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
1.ทดสอบย่อย
2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
 
 
ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
ปฏิบัติภาคสนาม
1.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
2.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล