กลศาสตร์ของไหล

Fluid Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจคุณสมบัติของของไหล  ของไหลสถิต การวิเคราะห์เชิงมิติและความคล้ายคลึง  การเคลื่อนที่ของของไหล สมการการเคลื่อนที่และการไหลแบบต่อเนื่อง การไหลคงตัวของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ สมการพลังงานและโมเมนตัม การสูญเสียพลังงานจากการไหล การวัดและเครื่องมือวัดของไหล
-
ศึกษาคุณสมบัติของของไหล ของไหลสถิต การวิเคราะห์เชิงมิติและความคล้ายคลึง การเคลื่อนที่ของของไหล สมการการเคลื่อนที่และการไหลแบบต่อเนื่อง การไหลคงตัวของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ สมการพลังงานและโมเมนตัม การสูญเสียพลังงานจากการไหล การวัดและเครื่องมือวัดของไหล
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบของบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ
                                1.1.2 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ
                                1.2.2 ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม การกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
                1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
                1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                1.3.4 การกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิศวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
                                2.1.2 มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตยศาสตร์
                                2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ของไหลในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง
                2.2.2 มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และสอบปลายภาคเรียน
                2.3.2 ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                3.1.2 สามรถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ใหม่ๆ
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
                                3.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทำรายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และสอบปลายภาคเรียน
                                3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
                                4.1.2 สามารถวางแผน และรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
                                4.1.3 รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.2.1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                                4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า
                                4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
                                4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
                                4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
5.1.1 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลทางคณิตศาสตร์ ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
                                5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูล เช่น การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
                                5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลได้
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E-Learning
                                5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และสอบปลายภาคเรียน
                                5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
                                5.3.3 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1, 2.2.2, 2.2.3, 2.2.4, 3.1.1, 3.1.2, 5.1.1, 5.1.2 สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 13 18 10% 25% 10% 30%
2 3.1.3, 4.1.1, 4.1.3, 5.1.3 ประเมินจากรายงานและกรนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินจากแบบฝึกหัดบทเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 1.1.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กลศาสตร์ของไหล                                         มนตรี พิรุณเกษตร
                2. กลศาสตร์ของไหล                                         วิศิษฏ์ จาตุรมาน
                                                                                                ขวัญชัย สินทิพย์สมบูรณ์
                3. กลศาสตร์ของไหล                                         ทวิช จิตรสมบูรณ์
          4. เอกสารประกอบการสอนวิชากลศาสตร์ของไหล                            จักรพันธ์ ถาวรงามยิ่งสกุล
                   
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาสถิตยศาสตร์
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
                - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
                - ผลการเรียนของนักศึกษา
                - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
                - การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
                - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4