ลวดลายไทย 1

Thai Ornament 1

1. ศึกษาลักษณะของลวดลายไทยประเภทต่างๆ
2. ฝึกปฏิบัติในการเขียนและการผูกลวดลายไทย
3. มีทักษะในการเขียนลวดลายไทยตามกฎเกณฑ์ของโบราณ
4. ฝึกปฏิบัติการเขียนตัวภาพในงานจิตรกรรมไทย
5. เห็นคุณค่าในลวดลายไทย
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ลวดลายไทย 1 สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปะไทย ซึ่งมีเนื้อหาสาระการศึกษาและฝึกปฏิบัติที่เกี่ยวกับทักษะในการเขียน ผูกลวดลายไทย และตัวภาพในงานจิตรกรรมไทย ตามกฎเกณฑ์แบบโบราณ ด้วย ดินสอ และพู่กัน ตามแนวความคิด คตินิยม และรูปแบบในห้องปฏิบัติงาน วิจารณ์และแนะนำเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะของลวดลายประเภทต่างๆ แนวคิดรูปแบบวิธีการผูกลาย การจัดองค์ประกอบของลวดลาย ตามกฎของลายโบราณ
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
 มีคุณธรรม  จริยธรรม  รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ
มีศักยภาพในการค้นคว้าและพัฒนาตนเอง ในงานที่ได้รับมอบหมาย 
การมีส่วนร่วมปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียน กิจกรรมนอกชั้นเรียน การทำงานเป็นกลุ่ม และการมีส่วนร่วมมีจิตสาธารณะ
มีความรู้  ความสามารถในการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์
วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย ทำงานกลุ่ม นำเสนอรายงาน วิเคราะห์ สรุปผล
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ และ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
วิธีการสอน บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ทำรายงานโดยการศึกษาเรียนรู้จากครูภูมิปัญญา
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างผู้เรียน และผู้สอน
วิธีการสอน จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายรายงานกลุ่ม รายงานความก้าวหน้าของงาน
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิธีการสอน ค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงาน มีทักษะการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่ถนัด สามารถสร้างสรรค์ผลงานตามเทคนิคที่ถนัด สามารถวิเคราะห์ปัญหาการสร้างสรรค์ได้ แสดงออกลักษณะเฉพาะตนได้
สร้างเจตคติที่ดีต่อการสร้างสรรค์ผลงาน 
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย 2 มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด 3 สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน 5 มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
1 41000027 ลวดลายไทย 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การนำเสนอผลงานครั้งที่ 2,3,4,5,6,7,8 นำเสนอผลงาน ตรวจจากทักษะฝีมือ ความเข้าใจของกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน คุณภาพของผลงาน 3,4,5,6,7,8,9 20%
2 สอบกลางภาค ตรวจจากทักษะฝีมือ ความเข้าใจของกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน คุณภาพของผลงาน 9 10%
3 การนำเสนอผลงานครั้งที่ 10,11,12,13,14,15,16 ตรวจจากทักษะฝีมือ ความเข้าใจของกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน คุณภาพของผลงาน 11,12,13,14,15 16,17 30%
4 สอบปลายภาค ตรวจจากทักษะฝีมือ ความเข้าใจของกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน คุณภาพของผลงาน 17 10%
5 ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง การนำเสนอรวบรวมเป็นรูปเล่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง การนำเสนอรวบรวมเป็นรูปเล่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
6 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือศึกษาศิลปลายไทย  โดย มานะ ทองสอดแสง
เส้นสายลายไทย ชุด ลวดลายไทยพื้นฐาน โดย เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับลวดลายไทย
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น ลายไทย-ภาพไทย , fine arts,
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับลายไทย
ผลการประเมินจากนักศึกษาหลังจากสอบปลายภาคเรียน
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย