ศิลปะการตกแต่งผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์

Art of Handicraft Decoration

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.รู้หลักการตกแต่งผลิตภัณฑ์
2.เข้าใจเทคนิคและวิธีการตกแต่งผลิตภัณฑ์
3.สามารถตกแต่งงานประดิษฐ์ด้วยวิธีการเขียนลวดลายด้วยสีได้
4.สามารถตกแต่งงานประดิษฐ์ด้วยวิธีการพิมพ์ได้
5.สามารถตกแต่งงานประดิษฐ์ด้วยวิธีการย้อมได้
6. สามารถตกแต่งงานประดิษฐ์ด้วยวิธีการถักได้
7.สามารถตกแต่งงานประดิษฐ์ด้วยวิธีการปักได้
           เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการตกแต่งผลิตภัณฑ์เป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดอุตสาหกรรมงานประดิษฐ์ในยุคปัจจุบัน
         ศึกษาหลักการตกแต่งผลิตภัณฑ์ เทคนิควิธีกระบวนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ฝึกปฏิบัติการตกแต่งงานประดิษฐ์ในลักษณะต่างๆเช่นการเขียนลวดลายด้วยสี การพิมพ์ การย้อม การถัก การปัก ด้วยวัสดุหลายชนิดเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์
3.1 วัน พุธ เวลา 08.00 – 14.00 น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 089 6386085
    3.2  viriyajaree@hotmail.co.th เวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน
 
˜ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการออกแบบเขียนลวดลายลายชิ้นงาน กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตามที่ได้รับมอบหมาย การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบตนเองและในการทำงานกลุ่มที่ต้องปฏิบัติงาน

รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการประดิษฐ์ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานในชั่วโมงและการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่มและรายบุคคล
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
˜มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
šสามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านการออกแบบชิ้นงานสร้างสรรค์ การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงการใช้วัสดุให้ร่วมสมัยหรือเป็นการสร้างสรรค์ชิ้นงานหรือการเลียนแบบของจริง

         ให้นักศึกษาได้เรียนรู้การเย็บผ้าในเรื่องเทคนิคการต่อผ้า
การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค การส่งชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย

       - การทำรายงานและรูปเล่ม
˜มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยการนำตัวอย่างของจริง การสอนแบบบูรณาการให้ไปค้นคว้า และศึกษาด้วยตนเอง

         การสอนการใช้เทคนิคการในการออกแบบชิ้นงานให้ร่วมสมัยและสามารถนำไปใช้งานได้จริง
- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการออกแบบชิ้นงานจากผ้าทอชนเผ่าในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
-การส่งชิ้นงานของกลุ่มผ้าทอ
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนตัดเย็บผ้าทอเป็นโบว์ผูกผมและพวงกุญแจ
šมีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
šมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการตัดเย็บผ้าทอ

          มอบหมายการออกแบบโบว์ผูกผมและพวงกุญแจ
ประเมินจากผลของการทำรายงานการปฏิบัติการแต่ละครั้ง ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

          ประเมินการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้นการออกแบบชิ้นงานโบว์ผูกผมและพวงกุญแจ
˜สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
˜สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้อินเตอร์เน็ต การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน

         การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินทักษะการวาด การเขียน การตัดกระดาษ,ผ้า การมัด การย้อม การติดปะ และการประกอบโครงสร้างของชิ้นงาน และการใช้เทคนิคในการออกแบบ
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงการปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 24057205 ศิลปะการตกแต่งผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 16 9 17 10 % 15 % 15 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติการออกแบบชิ้นงาน 9 17 16 10 % 10 % 10 %
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การให้คะแนนของเพื่อนร่วมห้อง ตลอดภาคเรียน 5 %
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร รายงาน 1-16 10%
6 ด้านการปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน งานที่มอบหมาย และผลงานสำเร็จ (ภาคปฏิบัติ) ตลอดภาคเรียน 5 %
กรมอาชีวศึกษา  ศิลปะประดิษฐ์ 2530 กรุงเทพมหานคร
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
http://www.designengineerlife.com/
พื้นฐานการออกแบบผลิตภัณฑ์-product-design-basic/
https://prezi.com/jwgpmejomyeg/presentation
www.thaitopwedding.com/Misc/Thai-silk-10.html
www.km.itfd.rmutp.ac.th/wp-content/uploads/2010/10/ab10.pdf
https://www.pinterest.com/pin/396809417141786624
www.knittingeasy.com/14422409/สอนถักไหมพรม-ด้วยบล็อกไม้
www.repository.rmutt.ac.th/bitstream/handle/123456789/2115/140417.pdf?. https://elvira.co.th/การปักมือ-2
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การวิจัยนอกชั้นเรียน
3.2   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.3   เชิญบุคลากรในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
                     ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
              4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
                     โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
             5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน
                    ผลสัมฤทธิ์
             5.2  เชิญบุคลากรในชุมชนมามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่
                    กว้างและรู้จัก ประยุกต์ ความรู้ที่ได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด