อาหารไทย

Thai Cuisine

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
     เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้

ทราบถึงความรู้เบื้องต้นของวิชาอาหารไทย เข้าใจเลือกใช้วัตถุดิบเครื่องปรุงและอุปกรณ์ในการทำอาหารไทย อธิบายการประกอบอาหารไทยเพื่อใช้ในโอกาสและเทศกาลต่างๆ เข้าใจศิลปะการตกแต่งอาหารไทยเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อธุรกิจ มีทักษะในการประยุกต์ใช้วิธีการประกอบอาหารไทย
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
        เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารไทยเลือกใช้วัตถุดิบเครื่องปรุงและอุปกรณ์ในการทำอาหารไทยสามารถประกอบอาหารและมีความเข้าใจศิลปะการตกแต่งอาหารไทยเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อธุรกิจ
1.  คำอธิบายรายวิชา 
         ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอาหารไทยเลือกใช้วัตถุดิบเครื่องปรุงและอุปกรณ์ในการทำอาหารตลอดจนสามารถประกอบอาหารไทยเพื่อใช้ในโอกาสและเทศกาลต่างๆและมีความเข้าใจศิลปะการตกแต่งอาหารไทยเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อธุรกิจ
3.  จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล   
    3.1 วัน ศุกร์ เวลา 08.00 – 14.00 น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 089 6386085
    3.2  viriyajaree@hotmail.co.th เวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน
šมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
šมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
šเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการอาหารไทย กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตามที่ได้รับมอบหมาย การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มที่ต้องประกอบอาหารไทย

รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการประกอบอาหารไทยที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
˜มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
šสามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านอาหารไทย

การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงสูตรอาหารให้ร่วมสมัยหรือเป็นการอนุรักษ์ตามเทศกาลและประเพณี
การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค การส่งงานในเรื่องวัสดุ-อุปกรณ์และสูตรอาหารไทย

        - การทำรายงานสูตรอาหารไทย
 
˜มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยการนำตัวอย่างอาหารไทยแต่ละภาคและวัตถุดิบในการประกอบอาหารไทย

         การสอน ฝึกปฏิบัติอาหารไทย 4 ภาค
- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนอาหารไทยในชั้นเรียน
-การส่งงานอาหารไทย 4 ภาค
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนอาหารไทย
˜มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
˜มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
šสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการอาหารไทยจำนวนมากไปเลี้ยงน้องในวันงานเด็ก

         การร่วมทำกิจกรรมในการประกอบอาหารไทยไปทำบุญ
ประเมินจากผลของการทำรายงานการปฏิบัติการแต่ละครั้ง ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

          ประเมินการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น
šสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
šสามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้อินเตอร์เน็ต การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน

         การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินทักษะการชั่ง ตวง
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN112 อาหารไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 17 9 16 10 % 15 % 15 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติอาหารไทย 9 17 16 10 % 10 % 10 %
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การให้คะแนนของเพื่อนร่วมห้องและการทำกิจกรรมกลุ่ม ตลอดภาคเรียน 5 %
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร รายงานเรื่องการประกอบอาหารไทย 8 10 15 5%
6 ด้านการปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน งานที่มอบหมาย และผลงานสำเร็จ (ภาคปฏิบัติ) ตลอดภาคเรียน 10 %
7
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
จันทร    ทศานนท์   อาหารไทย  กรุงเทพฯ, ภาควิชาอาหารและโภชนาการ  คหกรรมศาสตร์วิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล, 2531
ทัศนีย์    โรจน์ไพบูลย์  “อาหารไทย” ในเอกสารประกอบการสอนชุดเทคโนโลยีอาหารและเครื่องดื่ม  หน่วยที่2  นนทบุรี, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  2542
วันดี ณ สงขลา. สำรับข้าวไทย. กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า ม.ป.ป.
ศรีสมร   คงพันธุ์. คู่มือจัดงานลี้ยง. กรุงเทพฯ, แสงแดด, 2535
ศรีสมร   คงพันธุ์.และมณี  สุวรรณผ่อง. ขนมไทย ๑. กรุงเทพฯ,  ศูนย์การพิมพ์พลชัย, 2534
สุภรณ์   พจนมณี. “ การจัดและบริการอาหาร” ในเอกสารการสอนชุดวิชาอาหารและครอบครัว. วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา.วิทยาเขตพระนครใต้, 2535
อบเชย  วงศ์ทองและขนิษฐา  พูลผลกุล. เอกสารประกอบอาหาร. กรุงเทพฯ, มหาลัยเกษตรศาสตร์,2544
อบเชย วงศ์ทอง. (2550). หลักการประกอบอาหาร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
https://www.maanow.com/อังกฤษ/141-คำศัพท์เกี่ยวกับการทำอาหาร.html
    https://quizlet.com/19277589/5000-flash-cards/
     https://www.pasa24.com/view/page.aspx?p=English-vocabs-about-food-(section1)
    http://www.ezythaicooking.com/seasoning_th.htm
    http://kitchen-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 รายงานผลการปฏิบัติการอาหารไทย
1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน
1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินเพื่อนในรายวิชา
กลยุทธ์ในการประเมินการสอนในรายวิชานี้ ดูผลจากผลการประเมินผู้สอนของนักศึกษาและนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
มีการปรับปรุงรายการอาหารไทยที่มีความนิยมและเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นให้สอดคล้องกับฤดูกาลให้เหมาะสม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา
           4.1  การทวนสอบการโดยดูจากผลการประเมินของนักศึกษาที่มีต่อรายวิชาอาหารไทย
          4.2   มีการสุ่มตรวจของผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   มีการนำแนวคิดการปฏิบัติการประกอบอาหารไทยที่ได้จากการเรียนการสอนในชั้นเรียนเข้ามาใช้ในการปรับปรุงการสอนให้ดีเพิ่มขึ้น