ระบบไฟฟ้ากำลัง

Electric Power System

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1  เข้าใจความรู้เบื้องต้นในระบบไฟฟ้ากำลัง
1.2  เข้าใจโครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง
1.3  เข้าใจเกี่ยวกับแบบจำลองสายส่ง
1.2  เข้าใจระบบเปอร์ยูนิต
1.3  มีความรู้การคำนวณพื้นฐานด้านระบบไฟฟ้ากำลัง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  ทางด้านระบบไฟฟ้ากำลัง เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลังที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของระบบไฟฟ้ากำลัง แหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้า โครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง พารามิเตอร์ของสายส่ง ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดัน การคงค่าแรงดันไฟฟ้า การส่งและจ่ายกำลังไฟฟ้า ระบบเปอร์ยูนิต อุปกรณ์และมาตรฐานการติดตั้งระบบการส่งและจ่ายกำลังไฟฟ้า
 
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความขยันหมั่นเพียร ความสำนึกในจรรยาบรรณแห่งอาชีพ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม เคารพในสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
กำหนดกติกาการในการเข้าชั้นเรียน การส่งและการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ความรับผิดขอบต่อหน้าที่และสังคม การเคารพในสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

3 กำหนดงานให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกให้ผู้เรียนทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วมในการทำงานและนำเสนออย่างเท่าเทียม
4.กำหนดกิจกรรมการนำเสนอและอภิปราย ผู้เรียนทุกคน สามารถซักถาม ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่นำเสนอผลงาน
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   การทำชิ้นงาน รายงาน และการบ้าน
1.3.4   พฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
มีความรู้ในเนื้อหาที่สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชา
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ ทฤษฏี
2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning -fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:TH'>Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ การคำนวณอย่างเป็นระบบ เพื่อแก้ปัญหาและโจทย์  

 
บรรยาย ให้กรณีศึกษาหรือโครงงาน กำหนดโจทย์การบ้าน และอภิปรายกลุ่ม

   

 
สอบกลางภาคและปลายภาค โจทย์ การบ้านและชิ้นงานที่ต้องใช้การวิเคราะห์และกระบวนการคิดและการคำนวณอย่างเป็นระบบในการแก้ปัญหา
4.1.1   ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   ความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มกำหนดหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอผลงาน
4.3.1  พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2  งานที่นำเสนอและรายงานการศึกษา    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลขและการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการแก้ปัญหาโจทย์
5.1.2   ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และ นำเสนอในชั้นเรียน
5.1.4   การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสื่อสาร การทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   กำหนดโจทย์การบ้านหรืองานที่ต้องใช้การคำนวณและใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใน การแก้ปัญหา
5.2.2   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning                       และทำรายงานโดยเน้นการนำความรู้ มาจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินผลจากการบ้าน การนำเสนองานและรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย
5.3.2   ประเมินผลจากรูปแบบการนำเสนอโดยการใช้เทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าร่วมชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 6%
2 ความรู้ ตรวจสอบการบ้าน งานที่มอบหมาย และการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ทักษะทางปัญญา ตรวจสอบการบ้าน งานที่มอบหมาย และการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 40%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานกลุ่มและผลงาน 3, 4,5, 6%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบการบ้าน 3,5,7,9,11,13,15 8%
1. ชำนาญ  ห่อเกียรติ. ระบบไฟฟ้ากำลัง. กรุงเทพมหานคร : โครงการพัฒนาความชำนาญด้านไฟฟ้ากำลัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551.
2. ชวลิต  ดำรงรัตน์. การส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร :  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,  2537.
3. โตศักดิ์  ทัศนานุตริยะ. การผลิต การส่งและจ่ายไฟฟ้า. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2540.
4. โตศักดิ์  ทัศนานุตริยะ. การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง. กรุงเทพมหานคร :  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น  จำกัด, 2540.
5. อนันต์  เวทย์วัฒนะ. ระบบสายส่งกำลังไฟฟ้า. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2553.
6. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย.[online]. วันที่สืบค้น 30 ตุลาคม 2556 จาก http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=165&Itemid=146
7. John J. Grainger, William D. Stevenson, JR. Power System Analysis. New York :  McGraw-Hill, 1994.
8. J. Duncan Glover,  Mulukutla S. Sarma.  Power System Analysis and Design. (Third Edition)
United States of America :  Brooks/Cole, 2002.
9. Hadi Saadat.  Power System Analysis.  Singapore : McGraw-Hill, 1999.
10. D.P.Kothari,  I.J.Nagrath. Modern Power System Analysis. (Third Edition)  Singapore : McGraw-Hill, 2004.
11. Syed A. Nasar. Schaum’s outlines Electric Power Systems. United States of America : McGraw-Hill, 1990.
12. Theodore Wildi. Electrical machines, Drives, and Power System. (Sixth Edition) United States of America : PEASON Prentice Hall, 2006.
13. Gonen Turan. Electric Power Transmission System Engineering Analysis and Design. New York : John Wiley &Sons, 1988.
14. Muhammad H. Rashid. Power Electronics Handbook. Cannada : Academic Press, 2001.
1. ฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย
2. แหล่งข้อมูลสืบค้นบน Internet
1. www. ieee.org
2. www. sciencedirect.com
3. www. dialux.com
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านเว็บของสำนักทะเบียนและวัดผล
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3   การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ �ู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม