เทคโนโลยีการผลิตผัก

Vegetables Production Technology

1. มีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตผัก 2. สามารถผลิตพืชผักที่มีความปลอดภัยสารเคมี เพื่อการบริโภคและจาหน่ายได้ 3. สามารถนาความรู้ไปใช้ศึกษาในรายวิชาขั้นสูงที่เกี่ยวข้อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและเตรียมความพร้อมด้านปัญญา ในการนาความรู้ ความเข้าใจด้านการผลิตพืชผักที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคและกระแสนิยมในเรื่องของอาหารเพื่อสุขภาพและปลอดภัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสำคัญของพืชผักในการผลิต เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ได้แก่การผลิตเพื่อส่งตลาดสด โรงงานอุตสาหกรรม และการผลิตเมล็ดพันธุ์ การวางแผนการผลิต การปลูก การดูรักษา การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ระบบตลาด อุปสรรคและศัตรู ตลอดจนวิธีหลีกเลี่ยงแก้ไขและจำกัด
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง  สำนักงานพืชศาสตร์ โทร...0861876760
3.2  e-mail;bunjong_19@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความตระหนัก รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ 4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการประกอบวิชาชีพของตนต่อบุคคล องค์กร และสังคม 7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1) บรรยาย สอดแทรกประสบการณ์และเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นจริงในชีวิต ประจาวัน ระหว่างการเรียนการสอน 2) อภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน 3) ให้นักศึกษาทางานกลุ่มโดยศึกษาค้นคว้า เก็บข้อมูลตามตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง และเสนอรายงาน
1) ประเมินจากการเข้าเรียนและพฤติกรรมในชั้นเรียนของนักศึกษา 2) ประเมินจากความตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของงานที่ได้รับมอบหมาย 3) ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการนาเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญของการผลิตผัก 2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับการผลิตพืชผัก รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 3) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการด้านการผลิตพืชผักและความต้องการของตลาดและผู้บริโภค 4) สามารถบูรณาการความรู้เกี่ยวกับพืชผักกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) บรรยายและฝึกปฏิบัติในแปลงปลูกพืช 2) ศึกษาข้อมูลและดูงานกับเกษตรกรผู้ปลูกผักประเภทต่างๆ 3) ให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและทารายงานนำเสนอ
1) ประเมินจากผลของสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและการประยุกต์ใช้ 2) ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูลด้วยตัวเอง
1) พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหาของการผลิตผัก โดยประยุกต์ความรู้และทักษะแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1) บรรยายและฝึกปฏิบัติในแปลงปลูกพืช 2) การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อคิดเห็นกับเกษตรกรผู้ปลูกผักประเภทต่างๆ 3) ให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและทารายงานนาเสนอ
1) ประเมินจากคาตอบข้อสอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบเชิงวิเคราะห์จากสถานการณ์จริง และผลการนาเสนอรายงานกรณีศึกษา 2) ประเมินจากผลผลิตแต่ละชนิดผักที่รับผิดชอบทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ
1) พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 2) พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน 3) มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาร่วมกัน 2) มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคลพร้อมทั้งนาเสนอข้อมูล
1) ประเมินจากการพฤติกรรมการร่วมกันทางานในชั้นเรียน 2) ประเมินจากความตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของงานที่ได้รับมอบหมาย
1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตหรือคอมพิวเตอร์ออนไลน์ 2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน และสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อการและการนาเสนออย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E-Learning และทารายงาน โดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 2) นาเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1) ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1) สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง  2) สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ  3) สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
- การสอนฝึกปฏิบัติการ
ผลจากการปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCAG155 เทคโนโลยีการผลิตผัก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 5.3 สร้างกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน 1-17 30%
2 4.1, 4.2, 4.3 มีความเข้าใจหลักการปฏิบัติงานเกษตรในฟาร์ม 1-17 10%
3 1.3 2.3 3.3 4.3 5.3 สามารถปฏิบัติงานเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 1-17 50%
4 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 5.1 5.2 5.3 รายงานผลปฏิบัติงาน 1-17 10%
สมภพ ฐิตะวสันต์. 2537. หลักการผลิตผัก. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการ เกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. พิมพ์ครั้งที่2. 217หน้า.
ไม่มี
1. เวบไซต์ (web site) ทางด้านการผลิตปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ / จีเอ็มโอ (GMOs) และสารเคมีทางการเกษตร 2. หนังสือ / วารสาร และเอกสารสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับการปลูกและดูแลผัก
1) ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และประโยชน์จากข้อคิดเห็นของนักศึกษาต่อการพัฒนารายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนารายวิชาในช่วงปลายของภาคการศึกษา 2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ 3) ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านระบบการประเมิน on line ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทารายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1) การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป 2) การวิจัยในและนอกชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน 3) ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป
1) ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ 2) มีการทวนสอบ สุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน 3) เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชา ตามเกณฑ์ที่กาหนด 4) สารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับคาถามในข้อสอบจากผู้ใช้บัณฑิต เพื่อปรับมาตรฐานข้อสอบ
1) นาข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากข้อ 1 มาประมวล เพื่อจัดกลุ่มเนื้อหาความรู้ที่ต้องปรับปรุง วิธีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และรูปแบบของการปฏิบัติงานในแปลงปลูกพืช ผลจากการประมวลจะนาไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป 2) นาผลการประเมินการสอนของตนเองจากข้อ 2 มาจัดกลุ่มเทียบเคียงกับข้อคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัย ปรับวิธีการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผลให้ตรงกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง