วิศวกรรมชลศาสตร์
Hydraulic Engineering
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถประยุกต์ หลักการของกลศาสตร์ของไหลในงานวิศวกรรมชลศาสตร์ สมการในระบบท่อความดัน การลดความเสียหายจากค้อนน้ำ การเลือกเครื่องสูบและกังหันน้ำ การออกแบบทางทางน้ำเปิด ลักษณะทางกายภาพของอ่างเก็บน้ำ การควบคุมตะกอน การลดการสูญเสียเนื่องจากการระเหยจากอ่างเก็บน้ำ ประเภทของเขื่อน การเลือกที่ตั้ง การออกแบบเขื่อนและวิธีบำรุงรักษาเขื่อน การออกแบบทางระบายน้ำล้นให้เหมาะสมกับอัตราการไหลที่ออกแบบ การวิเคราะห์มิติเชิงหน่วยและแบบจำลองทางชลศาสตร์ และเน้นให้นักศึกษาเห็นคุณค่าและความสำคัญของวิชาวิศวกรรมชลศาสตร์ในการประยุกต์กับการทำงานจริงภายใต้จรรยาบรรณที่ดีของวิศวกรโยธา
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้วิชาวิศวกรรมชลศาสตร์ในการทำงานจริง และเพื่อให้การเรียนการสอนสอดคล้องกับสถานการณ์และเทคโนโลยีปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้หลักการของกลศาสตร์ของไหลในงานวิศวกรรมชลศาสตร์ การไหลในระบบท่อ ฆ้อนน้ำ เครื่องสูบ กังหันน้ำ การไหลในทางน้ำเปิด การออกแบบอ่างเก็บน้ำ เขื่อน ทางระบายน้ำล้น และแบบจำลองทางชลศาสตร์
3 ชั่วโมง
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร ตามข้อบังคับสภาวิศวกร
ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง
แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก
มอบหมายเอกสารอ่านประกอบ ภาพ วีดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนเพื่อเพิ่มเติมประสบการณ์
มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา การกระทำผิดจรรยาบรรณวิศวกร อภิปรายกลุ่ม
สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และตรวจสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
เข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักการของกลศาสตร์ของไหลในงานวิศวกรรมชลศาสตร์ สมการในระบบท่อความดัน การลดความเสียหายจากค้อนน้ำ การเลือกเครื่องสูบและกังหันน้ำ การออกแบบทางทางน้ำเปิด การบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ การควบคุมตะกอน ประเภทของเขื่อน การเลือกที่ตั้ง การออกแบบเขื่อน และทราบวิธีบำรุงรักษาเขื่อน การออกแบบทางระบายน้ำล้น การวิเคราะห์มิติเชิงหน่วยและแบบจำลองทางชลศาสตร์ และเห็นคุณค่าของวิชาวิศวกรรมชลศาสตร์เพื่อประยุกต์กับการทำงานจริงได้
บรรยาย ศึกษาด้วยตนเอง อภิปรายกลุ่ม และยกตัวอย่างกรณีศึกษา โดยเน้นกระบวนการผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการแก้ปัญหาแบบคิดวิเคราะห์ ภายใต้หลักการและความเหมาะสมทางวิศวกรรม
พัฒนาความสามารถในการรวบรวม ตรวจสอบข้อมูล การคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาโดยใช้องค์ความรู้ทางวิศวกรรมชลศาสตร์ที่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างเป็นระบบ
การมอบให้นักศึกษาทำโจทย์ ปัญหาที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
อภิปรายกลุ่ม
วิเคราะห์กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรมชลศาสตร์
อภิปรายกลุ่ม
วิเคราะห์กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรมชลศาสตร์
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดผลตามจุดประสงค์การสอน
วัดผลจากการประเมินการวิเคราะห์กรณีศึกษา
สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
วัดผลจากการประเมินการวิเคราะห์กรณีศึกษา
สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและส่งภายในกำหนดเวลา
พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและส่งภายในกำหนดเวลา
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การใช้ทฤษฎีที่เรียนมาแก้ปัญหาโจทย์ที่นักศึกษาสนใจ ต้องการทราบคำตอบ และมีวิธีตรวจสอบความถูกต้อง
มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การใช้ทฤษฎีที่เรียนมาแก้ปัญหาโจทย์ที่นักศึกษาสนใจ ต้องการทราบคำตอบ และมีวิธีตรวจสอบความถูกต้อง
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน
พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา
พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและแบบกลุ่ม
ทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
บรรยายและเสนอแนะนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัย
ทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
บรรยายและเสนอแนะนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัย
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
รู้ เข้าใจ นำเสนอ
บอก อธิบาย นำเสนอหน้าชั้นเรียน ยกตัวอย่าง
สังเกตุ สอบถาม ทดสอบ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1- 2.2, 2.4 - 2.5, 3.1 - 3.4, 5.1 - 5.3, 6.1 - 6.2 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค | 5 8 12 17 | 100% |
กีรติ ลีวัจนกุล (2543) วิศวกรรมชลศาสตร์. สำนักพิมพ์ Spec. ปทุมธานี. 552 หน้า.
โชติไกร ไชยวิจารณ์ (2546) วิศวกรรมชลศาสตร์. สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ. 497 หน้า.
วิบูลย์ บุญยธโรกุล (2529) ปั๊มและระบบสูบน้ำ. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม. 268 หน้า.
Chin, D.A. (2003). Water-Resources Engineering. , 2nd ed. Pearson Education, Inc. New Jersey. 692 p.
Hwang, N. H., & Hita, C. E. (1987). Hydraulic Engineering Systems. New Jersey: Prentice-Hall, Inc.
Kay, M. (2008). Practical hydraulics, 2nd ed. Taylor & Francis, New York.
Liu, H. (2003). Pipeline Engineering. CRC Press, Florida.
Novak, P., Moffat, A., Nalluri, C., & Narayanan, R. (2007). Hydraulic Structures. New York: Taylor & Francis.
โชติไกร ไชยวิจารณ์ (2546) วิศวกรรมชลศาสตร์. สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ. 497 หน้า.
วิบูลย์ บุญยธโรกุล (2529) ปั๊มและระบบสูบน้ำ. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม. 268 หน้า.
Chin, D.A. (2003). Water-Resources Engineering. , 2nd ed. Pearson Education, Inc. New Jersey. 692 p.
Hwang, N. H., & Hita, C. E. (1987). Hydraulic Engineering Systems. New Jersey: Prentice-Hall, Inc.
Kay, M. (2008). Practical hydraulics, 2nd ed. Taylor & Francis, New York.
Liu, H. (2003). Pipeline Engineering. CRC Press, Florida.
Novak, P., Moffat, A., Nalluri, C., & Narayanan, R. (2007). Hydraulic Structures. New York: Taylor & Francis.
Weiss, P. T., & Gulliver, J. S. (2001). What do Students Need in Hydraulic Design Project? Journal of Hydraulic Engineering , 127 (12), 984-991.
Chanson, H. (2003). Hydraulic Engineering into the 21st Century: a Rediscovery of the Wheel? (1) A Review. Proc. 6th International Conference on Civil Engineering Isfahan, Iran, May 5-7 2003. Keynote Lecture. pp. 1-12.
ตัวอย่างข้อสอบภาคีวิศวกรรมโยธา--วิศวกรรมแหล่งน้ำ
Chanson, H. (2003). Hydraulic Engineering into the 21st Century: a Rediscovery of the Wheel? (1) A Review. Proc. 6th International Conference on Civil Engineering Isfahan, Iran, May 5-7 2003. Keynote Lecture. pp. 1-12.
ตัวอย่างข้อสอบภาคีวิศวกรรมโยธา--วิศวกรรมแหล่งน้ำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา www.coe.or.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา เสนอแนะผ่าน world wide web ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา เสนอแนะผ่าน world wide web ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 สุ่มทวนสอบความรู้ของนักศึกษาจากการสอบถาม การนำไปประยุกต์ใช้ทั้งในวิชาโครงงานและวิชาวิศวกรรมการทาง
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 สุ่มทวนสอบความรู้ของนักศึกษาจากการสอบถาม การนำไปประยุกต์ใช้ทั้งในวิชาโครงงานและวิชาวิศวกรรมการทาง
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เชิญวิทยากรภายนอก เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เชิญวิทยากรภายนอก เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ