การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก

Timber and Steel Design

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการออกแบบองค์อาคารของโครงสร้างไม้และเหล็กสำหรับ องค์อาคารรับแรงดึง  แรงอัด  คาน  องค์อาคารรับแรงดัดร่วมกับแรงในแนวแกน     องค์อาคารประกอบ  คานประกอบขนาดใหญ่  การออกแบบจุดต่อ     ออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก  เห็นคุณค่าของวิชาการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็กเพื่อสามารถทำงานในวิชาชีพวิศวกรรมโยธาได้อย่างถูกต้อง 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ วิธี กฎเกณฑ์ในการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็กให้ถูกต้องกับพฤติกรรมของโครงสร้าง  แก้ไข
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับออกแบบองค์อาคารของโครงสร้างไม้และเหล็กที่รับแรงดึง  แรงอัด   แรงดัด  แรงเฉือน แรงดัดร่วมกับแรงในแนวแกน  องค์อาคารประกอบ คานประกอบขนาดใหญ่   การออกแบบจุดต่อปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในห้องเรียน และผ่าน e-learning : http://elearning.rmutl.ac.th/main/   -   นักศึกษาสอบถามได้ในห้องเรียน  นอกเวลาเรียนที่ห้องพักอาจารย์  ถามทาง email : aretomrit@gmail.com  หรือ aretomrit@hotmail.com  แก้ไข
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร ตามข้อบังคับสภาวิศวกรดังนี้ ไม่กระทำการใดๆ อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ ต้องปฏิบัติงานที่ได้รับทำอย่างถูกต้องตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ต้องประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้อำนาจหน้าที่โดยไม่ชอบธรรม หรือใช้อิทธิพล หรือให้ผลประโยชน์แก่บุคคลใดเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับหรือไม่ได้รับงาน ไม่เรียก รับ หรือยอมรับทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อย่างใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ จากผู้รับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวข้องในงานที่ทำอยู่กับผู้ว่าจ้าง ไม่โฆษณา หรือยอมให้ผู้อื่นโฆษณา ซึ่งการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความเป็นจริง ไม่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทำได้ ไม่ละทิ้งงานที่ได้รับทำโดยไม่มีเหตุอันสมควร ไม่ลงลายมือชื่อเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ในงานที่ตนเองไม่ได้รับทำ ตรวจสอบ หรือควบคุมด้วยตนเอง ไม่เปิดเผยความลับของงานที่ตนได้รับทำ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้ว่าจ้าง ไม่แย่งงานจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น ไม่รับดำเนินงานชิ้นเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา เว้นแต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้นทราบล่วงหน้าแล้ว ไม่รับดำเนินงานชิ้นเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา เว้นแต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้นทราบล่วงหน้าแล้ว ไม่ใช้หรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ยวกับงานของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น ไม่กระทำการใด ๆ โดยจงใจให้เป็นที่เสื่อมเสียแก่ชื่อเสียง หรืองานของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น  แก้ไข
ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก มอบหมายเอกสารอ่านประกอบ ภาพ วีดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนเพื่อเพิ่มเติมประสบการณ์ ซักถามในชั้นเรียน มอบหมายแบบฝึกหัด รายงานโครงงาน  กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผลงาน บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา การกระทำผิดจรรยาบรรณวิศวกร อภิปรายกลุ่ม 
1.พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
3.ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
4.ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับออกแบบองค์อาคารของโครงสร้างไม้และเหล็กที่รับแรงดึง  แรงอัด แรงดัด  แรงเฉือน แรงดัดร่วมกับแรงในแนวแกน  องค์อาคารประกอบ  คานประกอบขนาดใหญ่  การออกแบบจุดต่อปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก 
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  แก้ไข
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีนำไปแก้ปัญหาโจทย์ 
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างอาคารไม้และเหล็กผิดพลาด 
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  การวิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้วิชาทฤษฎีโครงสร้างที่เหมาะสม 
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ  แก้ไข
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดผลตามจุดประสงค์การสอน 
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน 
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา  แก้ไข
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน  แก้ไข
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น อ่านบทความงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  การใช้ทฤษฎีที่เรียนมาแก้ปัญหาโจทย์ที่นักศึกษาสนใจ ต้องการทราบคำตอบ และมีวิธีตรวจสอบความถูกต้อง 
4.2.3   การนำเสนอรายงาน  แก้ไข
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
5.1.1   ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล  คิดคำนวณ เชิงตัวเลข 
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room ทักษะในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นทางสังคมออนไลน์ 
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม  แก้ไข
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง 
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล