การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก

Reinforced Concrete Design

เข้าใจถึงพฤติกรรมขององค์อาคารที่รับแรงอัด แรงดัด แรงบิด แรงเฉือน แรงยึดหน่วง และพฤติกรรมร่วมของแรงเหล่านี้ รวมถึงการออกแบบองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน และวิธีกำลัง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรมและการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน และวิธีกาลัง และสามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
พื้นฐานพฤติกรรมขององค์อาคารที่รับแรงอัด แรงดัด แรงบิด แรงเฉือน แรงยึดหน่วง และพฤติกรรมร่วมของแรงเหล่านี้ การออกแบบองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน และวิธีกำลังออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในห้องเรียน  นักศึกษาสอบถามได้ในห้องเรียน นอกเวลาเรียนที่ห้องพักอาจารย์ ถามทาง email
1.1.1 เข้า ใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต                 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม                 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์                 1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม                 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบ ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม                 1.2.2 ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง ตรวจสอบการแต่งกายของนักศึกษา                 1.2.3 แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก                 1.2.4 มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล                 1.2.5 แบ่งงานเป็นกลุ่ม                 1.2.6 ปลูกฝังถึงผลกระทบทางวิศวกรรม                 1.2.7 แทรกการสอนด้วย จรรยาบรรณวิศวกร
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2 ประเมินการแต่งกายของนักศึกษา 
2.1.1 มี ความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี                 2.1.2 มี ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎี และปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม                 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง                 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น                 2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 ใช้การสอนที่เน้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ                 2.2.2 จัดทำรายงาน                 2.2.3 นำนักศึกษาไปดูงาน ที่สถานประกอบการ
2.3.1 การทดสอบ                 2.3.2 คุณภาพรายงาน                 2.3.3 สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วม
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี                 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ                 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ขอมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ                 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์                 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้ เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1 สั่งรายงาน โครงงาน                 3.2.2 ยกตัวอย่างประกอบจากเรื่องจริง
3.3.1 คุณภาพโครงงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่ หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม                 4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่ม แสดงประเด็น ในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ                 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง                 4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ                 4.1.5 มีจิตสำนึก ความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย ในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ส่งเสริมให้นักศึกษาทำกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม                 4.2.2 รับฟังความคิดนักศึกษา
4.3.1 การเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี                 5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์                 5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ                 5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์                 5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าข้อมูล และทำรายงานผ่านคอมพิวเตอร์
5.3.1 ประเมินจากผลงาน
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ                 6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี 
6.2.1 สนับสนุนการทำโครงการ 
 6.3.1 พิจารณาผลงาน
1. สอบ  2. แบบฝึกหัด  3. โครงงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 6-10 สอบเก็บคะแนน และสอบกลางภาคเรียน สอบเก็บคะแนน และสอบปลายภาคเรียน 8 17 40% 40%
2 1-11 งานที่รับมอบหมาย 1-7,8-16 10%
3 1-11 การเข้าชั้นเรียน 1-7,8-16 10%
วินิต ช่อวิเชียร. การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก            James G. Macgregor. Reinforced concrete mechanics and design
มาตรฐาน วสท 1008-38
Website ต่างๆ โปรแกรมสำเร็จรูปในการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น  จากนักศึกษาได้ดังนี้                 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผูสอนและผู้เรียน                 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา                 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้                 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน                 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา                 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม  สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้                 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน                 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ  เรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล  การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดยรวมในวิชาได้ดังนี้                 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ  ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร                  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย  ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ  สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้                 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4                 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นกศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา  ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ