ปฏิบัติงานวิศวกรรมโยธา

Civil Engineering Workshop

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความรู้เบื้องต้นของหลักวิศวกรรม วิศวกรโยธา รู้จักวัสดุก่อสร้าง และ
อุปกรณ์ก่อสร้าง และนำไปใช้อย่างเหมาะสม เข้าใจลักษณะโครงสร้างของอาคาร ฝึกปฏิบัติงานไม้
คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กรูปพรรณ เข้าใจโครงสร้างสำเร็จรูป นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับ
วิชาทางวิศวกรรมโยธา
           เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานวิศวกรรมโยธา ระบบและวิธีการก่อสร้างอาคาร การก่อสร้าง
ระบบสาธารณูปโภค เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้ในการวิเคราะห์และประเมินค่า สามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการควบคุมการก่อสร้างและออกแบบงานอาคาร หรือนำไปประยุกต์กับหลักวิชาอื่นได้
      ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานก่อสร้างและงานวิศวกรรมโยธา ฝึกปฏิบัติงานไม้
คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กรูปพรรณและโครงสร้างสำเร็จรูป การนำนักศึกษาทัศนะศึกษานอกสถานที่
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในห้องเรียน
- นักศึกษาสอบถามได้ในห้องเรียน นอกเวลาเรียนที่ห้องพักอาจารย์
                  1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม
จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
                 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ
ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                1.1.3 มีภาวะความเป็ นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็ นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ
ขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้ง
เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
              1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล
องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
              1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ
วิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน วิชาชีพวิศวกร ตามข้อบังคับสภาวิศวกร สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน  กำหนดวันส่ง การนำเสนอ สั่งงานเป็นกลุ่ม ปลูกฝังถึงผลกระทบทางวิศวกรรม แทรกการสอนด้วย จรรยาบรรณวิศวกร ตรวจสอบการแต่งกายของนักศึกษา
              1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
            1.3.2 พฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถาม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
            1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางวิศวกรรมโยธา การก่อสร้างอาคาร เพื่อการ
ประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ใน
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมโยธา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้
เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาใน
งานจริงได้
โดยที่นักศึกษาหรือผุ้เรียนจะได้รับความรู้ตรงตามคำอธิบายของวิชาปฏิบัติงานวิศวกรรม
โยธา คือ ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานก่อสร้างและงานวิศวกรรมโยธา
ฝึกปฏิบัติงานไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กรูปพรรณ และโครงสร้างสำเร็จรูป การนำนักศึกษา
ทัศนะศึกษานอกสถานที่
ชั่วโมงทฤษฎี : บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์
กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง นำเสนอผลการศึกษา สรุป และ
เสนอแนวทางแก้ปัญหา
ชั่วโมงปฏิบัติ : ฝึกปฏิบัติงานไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กรูปพรรณ และโครงสร้าง
สำเร็จรูป การฝึ กงานนอกโรงฝึ กงานโดยการสร้างรั้ว สร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก การต่อเติม
อาคารโรงปฏิบัติการทางวิศวกรรมโยธา
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีนำไป
แก้ปัญหาโจทย์
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก
2.3.3 ประเมินผลงานที่ปฏิบัติในแต่ละชั่วโมง
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 แบ่งกลุ่มการทำงานตามลักษณะงานที่จะปฏิบัติ เช่นการฝึกงานไม้ 2 คน ต่อ กลุ่ม ถ้า
เป็นงานคอนกรีต 5-6 คน ต่อ กลุ่ม
3.2.2 ให้นักศึกษาลงมือทำตามขั้นตอนที่เสนอ
3.2.3 ทำการอภิปรายผลของงานที่ได้ให้ทุกคนในห้องทราบและเข้าใจ พร้อมทั้งรับฟังข้อ
ซักถามจากเพื่อนและอาจารย์
3.3.1 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ใน
ประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว
และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความ
ช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้อง
กับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน
บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษา
สภาพแวดล้อมต่อสังคมตามกำหนดเวลา
4.2.1 จากโครงงานที่นักศึกษาทำต้องให้แต่ละบุคคลในกลุ่มหมุนเวียนกันมาอภิปราย ซึ่ง
ในหัวข้อต้องมีการบอกการวางแผนของการทำรายงาน การเก็บข้อมูล และบทบาทหน้าที่แต่ละคนที่
ได้รับมอบหมาย
4.2.2 สอดแทรกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย การปรับตัวต่อสังคม และความ
รับผิดชอบต่องานที่ทำ
4.2.3 มีการยกตัวอย่างแล้วให้นักศึกษาได้คิดและเสนอแนวทางในการแก้ไข
4.3.1 ประเมินคะแนนจากการอภิปรายของแต่ละบุคคล
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ
ประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่าง
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมาย
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือวัด และการคำนวณ เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่
เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ให้ส่งรายงานโดยให้ส่งเป็นดิจิตอลไฟล์ทั้งในรูปแบบ ไฟล์เอกสาร
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการเก็บข้อมูลและการคำนวณ__
5.2.1 ให้ส่งรายงานโดยให้ส่งเป็นดิจิตอลไฟล์ทั้งในรูปแบบ ไฟล์เอกสาร
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการเก็บข้อมูลและการคำนวณ__
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ใน
ประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว
และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความ
ช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้อง
กับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน
บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษา
สภาพแวดล้อมต่อสังคมตามกำหนดเวลา
4.2.1 จากโครงงานที่นักศึกษาทำต้องให้แต่ละบุคคลในกลุ่มหมุนเวียนกันมาอภิปราย ซึ่ง
ในหัวข้อต้องมีการบอกการวางแผนของการทำรายงาน การเก็บข้อมูล และบทบาทหน้าที่แต่ละคนที่
ได้รับมอบหมาย
4.2.2 สอดแทรกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย การปรับตัวต่อสังคม และความ
รับผิดชอบต่องานที่ทำ
4.2.3 มีการยกตัวอย่างแล้วให้นักศึกษาได้คิดและเสนอแนวทางในการแก้ไข
4.3.1 ประเมินคะแนนจากการอภิปรายของแต่ละบุคคล
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หมวด 4 (2.1,2.2,2.3,2.4, 2.5) หมวด 4 (3.1,3.2,3.3,3.4, 3.5,4.1,5.1) หมวด 4 (1.2,3.1,3.2,3.3) สอบกลางภาค บทที่ 1-6 สอบปลายภาค บทที่ 7-11 รายงาน/โครงงานที่ให้นักศึกษาทำ การอภิปรายกลุ่ม การตอบข้อซักถาม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน อภิปราย เสนอความคิดเห็นในห้องเรียน ฝึกการทำงานจริง 8 17 นอกเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10% 10% 10% 20% 50%
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัติงานวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Workshop)
2. เทคนิคก่อสร้าง, วิทวัส สิทธิกุล,2544
3. คอนกรีตเสริมเหล็ก,วินิต ช่อวิเชียร2540
4. การควบคุมอาคารสูง,ชนันต์ แดงประไพ,2543
5. เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการควบคุมงาน,วิศวกรรมสถาน,1993
http://www.homedd.com
http://www.thaibuild.com
http://www.google.co.th/
ร้านค้าวัสดุก่อสร้าง Home Pro, Home Mart, ไทวัสดุ