การออกแบบคอนกรีตอัดแรง

Prestressed Concrete Design

1.  เข้าใจแนวคิดของการอัดแรงและระบบการอัดแรงในคอนกรีต 2.  รู้คุณสมบั ติเชิงวัสดุ 3.  รู้ถึงการสูญเสียกําลังอัด 4.  เข้าใจการวิเคราะห์และการออกแบบ คอนกรีตอัดแรง 5.  เห็นความสําคัญของการออกแบบคอนกรีตอัดแรง
ปรับปรุงรายวิชาให้ได้พื้นฐานสําหรับการออกแบบคอนกรีตอัดแรงในระดับที่สูงขึ้น
หลัก การขององค์อาคารคอนกรีตอัดแรง คุณสมบัติของวัสดุและหน่วยแรงที่ยอมให้  การวิเคราะห์หน่วยแรงที่ เกิดขึ้นในคานคอนกรีตอัดแรง การสูญเสียแรงอัด  การออกแบบคานเพื่อต้านทานแรงดัดและแรงเฉือน การแอ่นตัว ของคานในช่วงน้ําหนักบรรทุกปกติ  กําลังของคานคอนกรีตอัดแรง การออกแบบคานประกอบและระบบแผ่นพื้น สําเร็จรูป การออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง การออกแบบเสาเข็ม
5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์  จันทร์ – ศุกร์ เวลา 16.00 – 17.00 น.
1.1.1     มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม                          1.1.2     มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ                                      ขัดแย้งและลำดับความสำคัญ                          1.1.3     เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ                                      ความเป็นมนุษย์                          1.1.4     เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม                          1.1.5     มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพพัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร ตามข้อบังคับสภาวิศวกรดังนี้  1.1.5.1  ไม่กระทำการใดๆ อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ 1.1.5.2        ต้องปฏิบัติงานที่ได้รับทำอย่างถูกต้องตามหลักปฏิบัติและวิชาการ   1.1.5.3 ต้องประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต  1.1.5.4  ไม่ใช้อำนาจหน้าที่โดยไม่ชอบธรรม หรือใช้อิทธิพล หรือให้ผลประโยชน์ แก่บุคคลใดเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับหรือไม่ได้รับงาน  1.1.5.5  ไม่เรียก รับ หรือยอมรับทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อย่างใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ จากผู้รับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวข้องในงานที่ทำอยู่ กับผู้ว่าจ้าง  1.1.5.6  ไม่โฆษณา หรือยอมให้ผู้อื่นโฆษณา ซึ่งการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมเกินความเป็นจริง  1.1.5.7 ไม่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทำ  1.1.5.8 ไม่ละทิ้งงานที่ได้รับทำโดยไม่มีเหตุอันสมควร  1.1.5.9  ไม่ลงลายมือชื่อเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ในงานที่ตนเอง   ไม่ได้รับทำ ตรวจสอบ หรือควบคุมด้วยตนเอง  1.1.5.10 ไม่เปิดเผยความลับของงานที่ตนได้รับทำเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้ว่าจ้าง  1.1.5.11 ไม่แย่งงานจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น  1.1.5.12 ไม่รับดำเนินงานชิ้นเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา เว้น แต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความ  ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้น ทราบล่วงหน้าแล้ว  1.1.5.13 ไม่รับดำเนินงานชิ้นเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา เว้น แต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความ ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้น ทราบล่วงหน้าแล้ว  1.1.5.4 ไม่ใช้หรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ยวกับงานของผู้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้ประกอบ วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น  1.1.5.15 ไม่กระทำการใดๆ โดยจงใจให้เป็นที่เสื่อมเสียแก่ชื่อเสียง หรืองานของผู้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น
1.2.1     ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง 
1.2.2     แจ้งกติกา ข้อตกลงมารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก 
1.2.3     มอบหมายเอกสารอ่านประกอบ ภาพ วีดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนเพื่อเพิ่มเติม                ประสบการณ์ 
1.2.4     มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล 
1.2.5     บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา การกระทำผิดจรรยาบรรณวิศวกร อภิปราย                กลุ่ม
.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
1.3.2     มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
1.3.3     ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
1.3.4     ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย  แก้ไข
1.  มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐา น วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน แ เศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรร ทางเทคโนโลยี 2.  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ ยวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎี และปฏิบัติ ในเนื้อหาข สาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 3.  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.  สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือเหมาะส อาทิ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น 5.  สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1.  ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีเพื่อให้เกิดองค์ความรู้   2.  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 3.  ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จําลอง 4.  ใช้วิธีการสอนแบบวิจัยเป็นฐาน 5.  นักศึกษาทุกคนศึกษาประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการหรือสหกิจศึกษา
1.  การทดสอบย่อย 2.   การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3.   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทํา 4.   ประเมินจากโครงงานที่นําเสนอ 5.   ประเมินจากการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน 6.   ผลการฝึกประสบการณ์จากสถานประกอบการหรือสหกิจศึกษา
1.  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 2.  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.  สามารถคิด    วิเคราะห์    และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ    รวมถึงการใช้ข้อมูล ประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.  มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนา นวัตกรรม หรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์  
5.  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต  และทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1.  กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 2.  มอบหมายงาน Project  โดยใช้หลักการวิจัย 3.  การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
1.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  2.  การปฏิบัติของนักศึกษา อาทิ ประเมินการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน 3.  การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 2.  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้ งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้ง ให้ความช่วยเหลือและอํานวย ความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 3.  สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.  รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้ งงานบุคคลและงานกลุ่ม  สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถ วางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 5.  มีจิตสํานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อ สังคม
1.  ปลูกฝังให้มี ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม    2.  ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปรายและเสวนางานที่ มอบหมายที่ให้ค้นคว้า     3.  ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น ( Brainstorming )  เพื่อฝึกการยอมรับความ คิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล 4.  ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.  ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี 2.  ติดตามการทํางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคค 3.  ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา 4.  สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
1.  มี ทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สําหรับการทํางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้ เป็นอย่างดี 2.  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการ แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 3.  สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้ อย่างเหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ 4.  มีทักษะในการสื่อสารข้ อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.  สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชา วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จําลอง และสถานการณ์ เสมือนจริง และนําเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ในหลากหลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ ในห้องปฏิบัติการ  2.  ส่งเสริมการค้นคว้า   เรียบเรียงข้อมูลและนําเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสําคัญใน การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
1.  ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ห คณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ 2.  ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจํากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การ อภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนําเสนอต่อชั้นเรียน 3.  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
1.  มีความสามารถในการใช้อุปกรณ์  เครื่องมือพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์  และการประยุกต์ใช้ ได้อย่าง ถูกต้องและปลอดภัย 2.  มีทักษะในการพัฒนาและดัดแปลงใช้อุปกรณ์  เครื่องมือ  สําหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง  เพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ในงานที่ดําเนินการ 3. มีทักษะในการร่างแบบสําหรับงานสาขาวิชาชีพเฉพาะ และสามารถนําไปสู่ภาคปฏิบัติ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
1.  สาธิตการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติ 2.  มอบหมายงานตามใบฝึกปฏิบัติ (Job Sheet) 3.  เตรียมใบฝึกปฏิบัติที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถเชิงทักษะในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม 4.  ฝึกทําการร่างแบบสั่งงานจริงในสาขาวิชาชีพเฉพาะ 5.  ฝึกนักศึกษาให้มีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน
1.  ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์โดยการบันทึกเป็นระยะๆ 2.  ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 3.  ประเมินจากผลงานและการนําเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 5 %
2 ความรู้ การสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาค การศึกษา 5 % 35 % 35 %
3 ทักษะทางปัญญา รายงานและการนําเสนอรายกลุ่มและ รายบุคคล การมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในชั้น เรียน ตลอดภาค การศึกษา 10 %
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และ ความรับผิดชอบ รายงานที่นําเสนอ ลักษณะพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม ตลอดภาค การศึกษา 5 %
5 ทักษะวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอ ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย ตลอดภาค การศึกษา 5 %
1. Nawy, E.G. Prestressed Concrete A Fundamental Approach, 4 th Edition, Prentice Hall,  2003 2. Nelson, A.H. Design of Prestressed Concrete 2 nd Edition, John Wiley & Sons, 1987 3. T.Y. Lin and Burns, N.H, Design of Prestressed Concrete Strutures, 3 nd Edition,John  Wiley &Sons,1982
-
วสท.1009-34 มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตอัดแรง
- สนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เกี่ยวกับการเรียนครบหัวข้อ ครอบคลุมเนื้อหา  - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-  สังเกตจากการสอนคือ สอนเต็มเวลา ครบหัวข้อ ครอบคลุมเนื้อห า มีแบบฝึกปฏิบัติ   มีเวลาให้เข้าถาม ปัญหา -  ผลการสอบ
-  ประชุมหารือระหว่างอาจารย์ผู้สอนวิชานี้ทุกคน  เพื่อหาข้อเด่นข้อด้อย -  ปรับปรุงการสอนตามลําดับความสําคัญที่ได้ข้อยุติจากการประชุมหารือ
-  การทวนสอบการให้คะแนนข้อสอบและผลงานของนักศึกษาที่ได้ค่าระดับคะแนนสูง กลาง และต่ํา -  ให้นักศึกษาแสดงความเห็นเกี่ยวความรู้ความเข้าใจในกระบวนการของการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก 
-  ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนทุกภาคการศึกษา  ให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงขึ้น -  ปรับปรุงการดําเนินการทุกภาคการศึกษา