ระบบข้อมูลปริภูมิ

Spatial Information System

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ และประยุกต์ข้อมูลสารสนเทศในส่วนที่เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล ข้อมูลเชิงพื้นที่ การวิเคราะห์ข้อมูล สําหรับสร้างงานอื่นในงานวิศวกรรมโยธา
เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินการสอนให้มีความชัดเจน ทั้งในเนื้อหาวิชา ระยะเวลาที่ใช้ แต่ละ หัวข้อ การจัดกิจกรรมการสอน และการประเมินผลได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่กําหนด
หลักการ แนวคิดระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ ระบบซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์ โครงสร้างฐานข้อมูลและฐานข้อมูลลักษณะสัมพันธ์ ฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของระบบ การนำเข้า การแก้ไขและการแปลงข้อมูล การวิเคราะห์ และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1.1 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่  มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ
1.2 มีความซื่อสัตย์ 
1.3. ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-บรรยายดัวยสื่อต่างๆ  
- การเข้าชั้นเรียน
- สังเกตพฤติกรรม ของผู้เรียนจากการนำเสนอ การซักถาม
2.1 จัดทำรายงานการ
2.2 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนการใช้ที่ดิน
2.3 หลักการวางแผนการใช้ที่ดิน
-บรรยายด้วยสื่อต่าง ๆ จัดเนื้อหาให้เชื่อมโยงกับกิจกรรมที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย  การค้นคว้าด้วยตนเอง การซักถามความก้าว หน้าของงาน
-การสอบย่อย
-การนำเสนอผลงาน/รายงานหัวข้อที่ให้ค้นคว้า
-  การตอบข้อซักถาม
3.1 สามารถคิด  วิเคราะห์ และเรียบเรียงข้อมูลจากการค้นคว้า บนพื้นฐานของความรู้ และเหตุผลได้ 
-การสอนด้วยการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning)
-รายงานตามหัวข้อการสอน
ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
-การนำเสนอผลงาน/รายงาน
- การตอบข้อซักถาม
-การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่รับมอบหมาย
4.2  ยอมรับในคิดเห็นหรือคำแนะนำที่แตกต่างของผู้อื่นได้
4.3 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
-มอบหมายงานเดี่ยวและกลุ่ม
และให้รายงานงานที่รับผิดชอบ
- การนำเสนอรายงาน
- ตอบคำถามจากเพื่อนร่วมชั้น
-ประเมินนักศึกษาคนอื่นๆในรายวิชา
5.1 สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน
5.2 สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลข  
5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร  ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือก
ข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ Power point  
-การนำเสนอข้อมูลการจัดการพืชสืบค้นข้อมูล
-การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-ให้มีการนำเสนอผลการค้นคว้างานด้วยวาจา
- การนำเสนอผลงาน
- การตอบข้อซักถาม
6.1 สามารถประยุกใช้ข้อมูลเชิงเพื่อที่ในการวิเคาห์เชิงวิศวกรรมโยธาได้
6.2 สามารถใช้โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงพื้นที่ได้
6.3 สามารถค้นหาความรู้จากแหล่งความรู้อื่นได้
 
มอบหมายงานให้ทํานอกเวลา กําหนดเวลาส่งที่แน่นอน
ประเมินจากความถูกต้องของงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษาะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายดัวยสื่อต่างๆ บรรยายด้วยสื่อต่าง ๆ จัดเนื้อหาให้เชื่อมโยงกับกิจกรรมที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย การค้นคว้าด้วยตนเอง การซักถามความก้าว หน้าของงาน การสอนด้วยการใช้ปัญหาเป็นฐาน รายงานตามหัวข้อการสอน ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน มอบหมายงานเดี่ยวและกลุ่ม และให้รายงานงานที่รับผิดชอบ ใช้ Power point การมอบหมายงาน
1 33053307 ระบบข้อมูลปริภูมิ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.4,3.1 การเข้าชั้นเรียน 1-16 5%
2 1.1,1.3,1.4,2.1,2.2,3.1,3.2, 3.3,3.4,4.1,4.3,4.4,5.1,5.2 6.1 รายงานการปฏิบัติงาน 1-16 35%
3 1.1,1.3,1.4,1.5,2.1,2.2,3.1, 3.2,3.3,3.4,4.1,4.2,4.3,4.4, 5.1,5.2,6.1 การค้นคว้า 6, 7, 15,16 10%
4 1.1,1.3,1.4,2.1,2.2,3.3,3.4, 4.4,5.1 สอบกลางภาค 8 25%
5 1.1,1.3,1.4,2.1,2.2,3.3,3.4, 4.4,5.1 สอบปลายภาค 17 25%
แก้ว นวลฉวี 2541 GIS กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ระดับผู้ปฏิบัติการ)
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมสิ่งแวดล้อม
ศรีสะอาด ตั้งประเสริ 2537 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการประเมินค่าทรัพยากรที่ดิน
ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
สรรค์ใจ กลิ่นดาว 2542 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: หลักการเบื้องต้น สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Burrough, P.A. 1986 Principles of Geographical Information System for Land
Resources Assessment. Oxford: Clarendon Press
1.1  แบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
1.2  สรุปผลการประเมินการสอน
2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.2  การสังเกตการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอน
3.1  ปรับปรุงสื่อการสอนและวิธีการสอน
3.2  เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการสอน
4.1 ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมายของนักศึกษา
4.2 การประเมินความเหมาะสมของการให้คะแนนโดยคณะกรรมการ
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินในข้อ 1 และ 2 มาใช้ในการวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอน