การอนุรักษ์พลังงานและการจัดการ

Energy Conservation and Management

- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานประสิทธิภาพพลังงานในอาคารและอุตสาหกรรม
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโหลดทางไฟฟ้า
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการวิเคราะห์และการจัดการพลังงานในอาคารและอุตสาหกรรม
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเทคนิคการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของระบบแสงสว่าง
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเทคนิคการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของระบบความร้อน
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเทคนิคการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของ ระบบระบายอากาศและระบบปรับอากาศเบื้องต้น
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเทคนิคการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของมอเตอร์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับระบบผลิตพลังงานร่วม
- เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์
เพื่อให้เนื้อหาหลักสูตรใหม่มีความสอดคล้องกับสาระสำคัญในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ.2553 หรือเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา มาตรฐานของสภาวิศวกร สมาคมระดับชาติ และนานาชาติ อีกทั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านในการนำความรู้ ความเข้าใจในการวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ ทั้งรวมถึงวิธีการเข้าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (E-Learning) เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับยุคปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานประสิทธิภาพพลังงานในอาคารและอุตสาหกรรม การบริหารจัดการโหลด กฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน การวิเคราะห์และการจัดการพลังงานในอาคารและอุตสาหกรรม เทคนิคการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของระบบแสงสว่าง ระบบความร้อน ระบบระบายอากาศและระบบปรับอากาศเบื้องต้น มอเตอร์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม ระบบผลิตพลังงานร่วม การอนุรักษ์พลังงานและการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์
- ให้คำปรึกษาผ่าน Social Media/ระบบ Education Learning ของ มทร.ล้านนา
- ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ทำการนัดหมาย)
- เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (1)]
- มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (2) •]
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (3)]
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (5)]
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
- ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (2) •]
- ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (2) และ (3)]
- ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (1)]
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.1, 1), (2), (3) และ (5)]
- มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิศวกรรมพื้นฐานเพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.2, 1), (1)]
- มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.2, 1), (2) •]
- สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.2, 1), (4)]
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
- การทดสอบย่อย กลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.2, 1), (1), (2) • และ (4)]
- ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – Based Learning [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.2, 1), (1), (2) • และ (4)]
- มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (1)]
- สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (2) •]
- สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (3)]
- มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (4)]
- ใช้กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
- การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (1) และ (4)]
- การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (1) และ (2) •]
- ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (2) และ (4)]
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.3, 1), (1)]
- สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (1)]
- สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (2)]
- สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (3)]
- รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (4)]
- สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
- มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
- มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
- ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (1), (2) และ (3)]
- ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรมเป็นรายบุคคล [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (3)]
- ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (1)]
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.4, 1), (4)]
- มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.5, 1), (1)]
- มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.5, 1), (2)]
- สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.5, 1), (3)]
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ
- ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.5, 1), (1) และ (3)]
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.5, 1), (2)]
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผล [ผลการเรียนรู้ข้อ 2.2.1.5, 1), (2)]
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGEE135 การอนุรักษ์พลังงานและการจัดการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1.1, 1), (1) 2.2.1.1, 1), (2) 2.2.1.1, 1), (4) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค 4 9 12 18 5% 20% 5% 20%
2 2.2.1.1, 1), (3) 2.2.1.3, 1), (1) 2.2.1.3, 1), (2) 2.2.1.3, 1), (3) 2.2.1.3, 1), (4) 2.2.1.4, 1), (1) 2.2.1.4, 1), (2) 2.2.1.4, 1), (3) 2.2.1.4, 1), (4) วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.2.1.1, 1), (1) 2.2.1.1, 1), (2) 2.2.1.1, 1), (3) 2.2.1.1, 1), (5) 2.2.1.4, 1), (2) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงาน อาวุโส ภาคทฤษฎี (ไฟฟ้า), กรุงเทพ, 2558.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงาน อาวุโส ภาคปฏิบัติ (ไฟฟ้า-โรงงาน), กรุงเทพ, 2558.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงาน อาวุโส ภาคปฏิบัติ (ไฟฟ้า-อาคาร), กรุงเทพ, 2558.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงาน อาวุโส ภาคทฤษฎี (ความร้อน), กรุงเทพ, 2558.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงาน อาวุโส ภาคปฏิบัติ (ความร้อน), กรุงเทพ, 2558.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงานสามัญ (อาคาร), กรุงเทพ, 2553.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารหลักสูตรผู้รับผิดชอบพลังงานสามัญ (โรงงาน), กรุงเทพ, 2553.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, คู่มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานตามมาตรฐานสากล ISO 50001 สำหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม, กรุงเทพ, 2559.
- สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, คู่มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานตามมาตรฐานสากล ISO 50001 สำหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม, กรุงเทพ, 2559.
- ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์, เทคโนโลยีการจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, 2554
เนื้อหาในหัวข้อที่มอบหมายให้ศึกษาด้วยตนเองจากคำแนะนำของผู้สอน
- เว็ปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อรายวิชา
- ระบบข้อสอบออนไลน์สำหรับฝึกทดสอบความรู้รายวิชา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านา เข้าถึงได้ที่ https://education.rmutl.ac.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่ม การอภิปรายเนื้อหาเชิงทฤษฎีและปฏิบัติระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ข้อเสนอแนะผ่านสังคมออนไลน์ (Social Network) โดยอาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนบางหัวข้อบรรยาย เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือภาคอุตสาหกรรม