หลักพืชสวน

Principles of Horticulture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ (ให้ถอดจาก วัตถุประสงค์หลักสูตร มคอ. 2)
1.1 เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนเข้าใจ

ความหมายและความสำคัญของงานด้านพืชสวน การผลิตและการดูแลรักษาพืชสวน การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศ วิชาการด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับพืชสวน เช่น การขยายพันธุ์พืช การปรับปรุงพันธุ์พืช การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การใช้ประโยชน์พืชสวน และการตลาดพืชสว มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาทางด้านพืชสวน

1.2 เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนทราบ
 

ความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวน

· พื้นฐานด้านพืชสวน เพื่อเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ (ให้ถอดจาก วัตถุประสงค์หลักสูตร มคอ. 2)
1.1 เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนเข้าใจ

ความหมายและความสำคัญของงานด้านพืชสวน การผลิตและการดูแลรักษาพืชสวน การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศ วิชาการด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับพืชสวน เช่น การขยายพันธุ์พืช การปรับปรุงพันธุ์พืช การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การใช้ประโยชน์พืชสวน และการตลาดพืชสว มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาทางด้านพืชสวน

1.2 เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนทราบ
 

ความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวน พื้นฐานด้านพืชสวน เพื่อเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านพืชสวน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  
การศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์และการจำแนกพืชกระบวนการขั้นมูลฐานทางสรีรวิทยาพืช ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตพืชสวน การขยายพันธุ์พืช การปรับปรุงพันธุ์พืชสวน การบริหารศัตรูพืชสวน การผลิตพืชสวน การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน การใช้ประโยชน์พืชสวนและการตลาดพืชสวน
  
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
3.1 วันจันทร์ เวลา 15.30 - 16.30 น. ห้อง PB102 โทร 081-7845648
3.2 e-mail; kul1122@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1.3 ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน
1.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
 
 
 2.1   ฝึกให้บรรยายความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
 
2.2 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา และทางอินเตอร์เน็ต / แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน
 
 
 
 
2.1   ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
 
 
 
 
2.2   ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
 
 
 
 
 
 
2.3   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
 
 
 
 
3.1   แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการขยายพันธุ์พืชในแปลงเพาะปลูกพืชที่ได้รับมอบหมาย
3.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3    ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
 
3.1   ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 3.2   ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 3.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
4.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
4.3   การนำเสนอรายงาน
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนโดยประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.2  ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3   ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
˜5.1สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1  ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3 มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
 
5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี Power point  หรือเทคโนโลยีอื่นๆที่เหมาะสม
5.2   ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
 
 
5.3   ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.1 ฝึกปฏิบัติภาคสนาม
การขยายพันธุ์พืชวิธีวิธีต่าง และการดูแลรักษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.3,2.1,2.2,3.1, 4.1,4.3,5.1,5.3 1.3,3.1, 4.3,5.1,5.2 1.3,3.1, 4.3,4.2,5.3 การเข้าชั้นเรียน /การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค การนำเสนองาน/การรายงาน การสอบปลายภาค 1 -7, 8 - 16 ทุกสัปดาห์ 4,6,10 8 14 - 16 17 5% 5% 5% 20% 65 % = 100%
จเร  พัฒนกิจ.  2539. ชุดการสอนวิชาหลักพืชสวน. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, นครศรีธรรมราช.  226 น.
ดนัย  บุณยเกียรติ.  2534.  สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวของผักและผลไม้. ภาควิชาพืชสวน   คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.  219 น.
ดนัย  บุณยเกียรติ.  2534. สรีรวิทยาพืชสวน.  ภาควิชาพืชสวน  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.  210 น.
สมภพ  ฐิตะวสันต์.  2534.  หลักการผลิตผัก.  ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า  เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.  217 น.
กมลลักษณ์  ล้อทอง.  2538.  เอกสารเผยแพร่สัมมนา  “การปลูกผักปลอดสารพิษ”  เรื่องแมลงศัตรูผักและการป้องกันกำจัด. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลพระนครศรีอยุธยา หันตรา, พระนครศรีอยุธยา. 41 น.
กมลลักษณ์  ล้อทอง.  2539.  เอกสารประกอบการสอน วิชากีฏวิทยาเบื้องต้น.  คณะเกษตรศาสตร์บางพระ (พระนครศรีอยุธยา หันตรา)  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, พระนครศรีอยุธยา.  203 น.
ดนัย  บุณยเกียรติ  และนิธิยา  รัตนาปนนท์.  2535.  การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.  ภาควิชาพืชสวน  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.  146 น
สัมฤทธิ์  เฟื่องจันทร์.  2527.  หลักพืชสวน. เล่ม1.  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  กรุงสยาม การพิมพ์,  กรุงเทพฯ.  483น.
Bailey, LH.  1958.  Manual of Cultivated Plants.  116 p.
Beiley, H.E.and C.L.Shry. Jr.  1979.  Introductory Horticulture 2nd edition.  Delmar Publishers Inc.,New York.  614 p.
กฤษฎา  สัมพันธรักษ์.  2528.  การปรับปรุงพันธุ์พืช.  บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ.  155 น.
เกศิณี  ระมิงค์วงศ์.  2528.  การจัดจำแนกไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
เชียงใหม่.  289 น.
ณพพร  ดำรงศิริ. 2539.  พฤกษอนุกรมวิธาน: Taxonomy of Vascular Plants.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,กรุงเทพฯ.  770 น.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ
รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4