โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องานบัญชี

Software Package for Accounting

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับวิธีการบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานโดยใช้คอมพิวเตอร์จัดทาบัญชี
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจการบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะด้านการใช้คอมพิวเตอร์ในการบันทึกบัญชี
ศึกษาและฝึกปฏิบัติลักษณะโดยทั่วไปและการใช้งานของโปรแกรมสาเร็จรูปประเภทต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์สาหรับงานทางด้านบัญชี โดยเฉพาะโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้านบัญชี กรณีตัวอย่างการบันทึกรายการค้าของประเภทธุรกิจต่าง ๆ รวมถึงการจัดเก็บ การรายงานข้อมูลทางการเงิน รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น หลักการพื้นฐานของระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จในการนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรองค์กรมาใช้ การประยุกต์ใช้งานด้านบัญชีกับระบบการบริหารทรัพยากรองค์กรและศึกษาตัวอย่างจากธุรกิจ
Study and practice of general knowledge about packaged software especially for accounting, learning and practicing in accounting software from case studies, preparing financial reports and information, information technology, fundamental knowledge of database and enterprise resource planning, advantages of implementing ERP in organizations, using ERP for accounting from various existed businesses.
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
2) ตระหนักถึงจรรยาบรรณของนักบัญชีที่ดี ที่มีต่อหน้าที่ในการบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี
3) มีความซื่อสัตย์ มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
4) สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ และข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนได้
1) สอนหัวข้อจรรยาบรรณของนักบัญชี และยกตัวอย่างผลเสียหายของการจัดทาบัญชีไม่เป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์และเกิดข้อผิดพลาดการบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง และนามาอภิปรายกันในชั้นเรียน
2) กาหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอน การทางานที่ได้รับมอบหมาย
1) ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพจากการอภิปรายของนักศึกษา
2) ประเมินจากการเช็คชื่อก่อนการสอนทุกสัปดาห์ การประเมินผลการสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
3) การสังเกตพฤติกรรมในการทางาน
1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางบัญชี
2) มีความรู้และความเข้าใจการบันทึกบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
1) บรรยาย ยกตัวอย่าง ถามตอบ ในชั้นเรียน
2) ฝึกปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี
1) การตอบคาถามในชั้นเรียน
2) การฝึกปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี
3) การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
1) สามารถสืบค้น ประมวลข้อมูล แนวคิดต่าง ๆ ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาได้ด้วยตนเอง
2) สามารถวิเคราะห์ตัวเลขทางการบัญชีก่อนการบันทึกรายการบัญชีลงเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
1) บรรยาย ยกตัวอย่าง และถามตอบในชั้นเรียน
2) ฝึกปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี
1) การตอบคาถามในชั้นเรียน
2) การฝึกปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี
3) การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
1) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
2) สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
3) สามารถช่วยเหลือกันในการแก้ปัญหาในการใช้คอมพิวเตอร์
มอบหมายงานกรณีศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี โดยดาเนินการทางรายงานตามระยะเวลาที่กาหนด โดยมีการวางแผนการจัดทากรณีศึกษาและรายงานผลความก้าวหน้าของรายงาน
ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูลรายงาน และเทคนิคการนาเสนอรายงานได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานกลุ่มเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์ โดยดาเนินการทารายงานตามระยะเวลาที่กาหนด และมีการวางแผนการจัดทารายงานและรายงานผลความก้าวหน้าของรายงาน
ประเมินจากการนาเสนอรายงาน
สามารถบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์ได้
ฝึกปฏิบัติจากตัวอย่างและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
ประเมินผลจากผลลัพธ์ของตัวอย่างและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม 3. สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 4. มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม 1. มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2. มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 3. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 4. สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง 1. สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 2. สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการ บัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคานึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3. สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 1. สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรม ขององค์กรได้เป็นอย่างดี 3. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ไข ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง 1. มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 2. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนาเสนอ ที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน 3. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวม ข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
1 BACAC144 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องานบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สัปดาห์ที่ 1-3 , สัปดาห์ที่ 1-6 , สัปดาห์ที่ 7-10 , สัปดาห์ที่ 7-12 สัปดาห์ที่ 1-3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 , สัปดาห์ที่ 1-6 สอบกลางภาค , สัปดาห์ที่ 7-10 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 , สัปดาห์ที่ 7-12 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4 , 9 , 12 , 17 สัปดาห์ที่ 4-10% , สัปดาห์ที่ 9-25% , สัปดาห์ที่ 12-10% , สัปดาห์ที่ 17-25%
2 สัปดาห์ที่ 1 - 16 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การทางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 สัปดาห์ที่ 1-16 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การแต่งกายและความประพฤติ ตลอดภาคการศึกษา 15%
อุเทน เลานาทา. (2562). การประยุกต์โปรแกรมสาเร็จรูปทางการบัญชี.
รุ่งรัศมี บุญดาว. (2559). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจในยุคดิจิทัล. ลัคกี้บุ๊คส์:นนทบุรี.
เว็บไซต์และสื่อการสอนที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่รวมรวมความรู้ ตัวอย่างการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางการบัญชี
ใช้การทดสอบแต่ละวงจรรายการค้าในการบันทึกรายการโดยใช้คอมพิวเตอร์
ใช้แบบประเมินการสอนของมหาวิทยาลัยฯ
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึการบันทึกบัญชีโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทาบัญชี