การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

Object-Oriented Programming

1.1 เข้าใจเรื่องการวิเคราะห์การออกแบบเชิงวัตถุ
1.2 เข้าใจแนวคิดเชิงวัตถุ
1.3 เข้าใจลักษณะสำคัญขององค์ประกอบเชิงวัตถุอันได้แก่ Message Passing, Abstraction, Inheritant, Pholimorpism, Overloading ad Overiding
1.4 มีทักษะในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุได้อย่างถูกต้องตามทฤษฏี
1.5 เห็นความสำคัญของการใช้แนวคิดเชิงวัตถุในการเขียนโปรแกรม
เพื่อให้เข้ากับเทคโนโลยีและทฤษฏีที่เปลี่ยนแปลงไป
         ศึกษาและปฏิบัติการกับวัตถุและแนวคิดเชิงวัตถุ, องค์ประกอบพื้นฐานของวัตถุ Class, ตัวอย่างข้อความ, กรรมวิธีการถ่ายทอดคุณสมบัติ, การวิเคราะห์และการออกแบบเชิงวัตถุ
และการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
 
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ในการให้คำปรึกษาและทำการให้คำปรึกษาผ่านเครือข่าย Social
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
ให้ความรู้กับนักศึกษา ของการเป็นบัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม  1.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น 5.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน 6.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 7.  อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน 
1)  การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2)  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3)  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 4)  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 5)  ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์ 6)  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 7)  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน               ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ 3.  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง 4.  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ 5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน 7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
1.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา  2.  การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ 3.  การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง 4.  ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 5.  ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน 7.  ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง 8.  ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา 
มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 1.    จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 4.  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง 5.  มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1.    การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค  2.    พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 3.    พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา 4.    การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา  5.    พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี 6.    สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming) 7.    สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 8.    ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษ
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 3.  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย 4.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 5.  ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ               ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 6.  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค 2.  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 3.  พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา              การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร 4.  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.  ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 4 ทดสอบภาคปฏิบัติ สอบกลางภาค (ปฏิบัติ) สอบปลายภาค 4, 7, 11, 14 15 8 17 20% 20% 20% 20%
2 ด้านปัญญาและการทำงานเป็นทีมการใช้เทคโนโลยี การศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ การทำงานรายบุคคลและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
      กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. Visual Basic 6 ฉบับโปรแกรมเมอร์. บริษัท เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์ จำกัด.                              2550.
      ธาริน สิทธิธรรมชาลี. สร้างโปรแกรมบนวินโดว์ด้วย Visual Basic Version 6.0.
                   สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย. 2553.
      วิทยา  สุคตบวร. คู่มือออกแบบและเขียนโปรแกรม โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม. 2545.
      จําลอง  ครูอุตสาห,กิตติ  ภั กดีวัฒนกุล.  การเขียนโปรแกรม VB6 ฉบับโปรแกรมเมอร์ .
                   กรุงเทพ ฯ : เคทีพี  คอมพ์  แอนด์  คอนซัลท์.2549.
      พร้อมเลิศ หล่อวิจิตร, พิชิตสันติ กุลานนท์ ,ฉันทวุฒิ   พืชผล.  คู่มือเรียน Visual  Basic  6. กรุงเทพ ฯ :                       โปรวิชั่น.2547.
กิตติ พลอนุรักษ์ . 2549. การโปรแกรมเบื้องต้น. [ออนไลน์ ] แหล่งที่มา           
                http://www.bwc.ac.th/e-learning/kittipol/index.php (20 พฤษภาคม 2549). 
      มัลลิกา มูลจันดา. 2549. การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น. [ออนไลน์ ] แหล่งที่มา  
      http://203.154.140.4/prog/logo/index.html (28 มิ ถุนายน 2549). 
       MCSD Visual  Basic 6 Distributed  Application.
 
       Websites
            1. http://www.thaiall.com/vbnet/indexo.html
            2. http://www.thaiprogrammer.in.th
            3  http://www.thaicreate.com/dotnet/vb-net-cs-mysql-ado-net.html
การประเมินผู้สอน                                                    
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน                
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง               
ผลการสอบของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
สัมมนา/ประชุมการจัดการเรียนการสอน
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร/คณะกรรมการวิชาการคณะ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การทวนสอบการให้คะแนนการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยคณะกรรมการวิชาการประจำคณะ
ปรับปรุงรายวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
ปรับปรุงรายวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร