ภูมิทัศน์วัฒนธรรม

Cultural Landscape

1.1    เข้าใจความหมายและความสำคัญของภูมิทัศน์วัฒนธรรม
  1.2 เข้าใจบทบาทของหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม
  1.3 มีทักษะในการศึกษากรณีศึกษาการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม
  1.4 เห็นคุณค่าของภูมิทัศน์วัฒนธรรม
 เพื่อดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม บทบาทของหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องและกรณีศึกษาการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม
 วัน พุธ  เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ โทร... 054 342547-8 ต่อ 118
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกและปลูกฝังให้นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะและคุณธรรม จริยธรรมและฝึกให้นักศึกษามีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(ทั้งงานส่วนบุคคลและงานกลุ่ม)
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
                    บรรยายเนื้อหาความรู้ให้เข้าใจหลักการใน เนื้อหา และฝึกให้ให้ผู้เรียนสนใจติดตามความก้าวหน้าของเนื้อหาหรือโครงการที่เกี่ยวข้อง และบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นๆ
ทดสอบย่อย ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ โดยให้งานมอบหมายให้ประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำมาใช้กับวิชาชีพ เช่นในการวางผังออกแบบ และการบรรยาย ยกตัวอย่าง ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
ทดสอบย่อย ประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย การนำเสนอ การซักถาม
 ˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เน้นผู้เรียนให้ใช้ความรู้ที่เรียนมาใช้ในทางที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
จากการสังเกตพฤติกรรม จากการทำงานมอบหมาย
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
 โดยมอบหมายงานให้นักศึกษา สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดทำผลงานและนำเสนอผลงาน
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
การนำเสนอผลงาน
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยความชำนาญ
จากงานมอบหมายงานโครงการและการนำเสนองาน
จากผลงานโครงการที่ทำ ตลอดจนการนำเสนงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1
1 21041330 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 การเรียนและจากผลงาน 1-16 70
2 1-6 งานที่มอบหมาย 4-16 20
3 1-6 จิตพิสัย 1-16 10
        เกรียงไกร เกิดศิริ2551 ชุมชนกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม สำนักพิมพ์อุษาคเนย์  กรุงเทพ
             คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร2550 แนวทางการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม กรุงเทพฯ
 เกรียงไกร เกิดศิริ2551 ชุมชนกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม สำนักพิมพ์อุษาคเนย์  กรุงเทพ
     คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร2550 แนวทางการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม กรุงเทพฯ
ผลงานนักศึกษารุ่นเก่า
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
จากหลักสูตร ,การประเมินผลผลของมหาวิทยาลัยและของอาจารย์ผู้สอน
หลักสูตรและจากอาจารย์ผู้สอน
ทวนสอบจากงานที่มอบหมายและผลงาน
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป