การผลิตสิ่งพิมพ์หนังสือและนิตยสาร

Print Production for Book and Magazine

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการผลิตหนังสือและนิตยสาร และต้องมีทักษะในการผลิตหนังสือและนิตยสารได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในกระบวนการผลิตหนังสือและนิตยสาร ไปใช้ในบริหารจัดการ และวางแผนการประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างถูกต้อง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการ ประเภท และบทบาทของหนังสือและนิตยสาร เทคนิคการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การออกแบบและจัดเตรียมต้นฉบับ การใช้เครื่องมือ และกระบวนการผลิตที่เหมาะสม ในขั้นตอนการเตรียมพิมพ์ การพิมพ์ และงานหลังพิมพ์ การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ ตลอดจนกระบวนการเกี่ยวกับการจัดการ กำหนดแผนงาน การบริหารการผลิต การบัญชีและกฎหมาย การจัดจำหน่าย เพื่อวางแผนการจัดการในรูปแบบโครงการ
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเอกสาร และช่องทางออนไลน์แบบกลุ่ม (Google Classroom)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างบทความจากสื่อประเภทต่างๆ ที่มีเนื้อหาสอดแทรกความมีคุณธรรม จริยธรรม หรือ ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม 
1.2.2 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 
1.2.3 อภิปรายเดี่ยวและกลุ่มตามกรณีศึกษาที่กำหนด 
1.2.4 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานหนังสือและนิตยสารที่ตนเองสนใจจากสื่อประเภทต่างๆ 
1.2.5 กำหนดให้นักศึกษาวิเคราะห์ตัวอย่างงานสิ่งพิมพ์ ที่มีผลกระทบต่อบุคคล องค์กรและสังคม 
1.2.6 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1     สังเกตุพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
1.3.2     มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
1.3.3     ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่กำหนดและการอภิปรายทั้งรายเดี่ยว และรายกลุ่ม 
1.3.4     ประเมินผลการนำเสนอรายงานความก้าวหน้าของงานแต่ละอาทิตย์ 
1.3.5     สังเกตุพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติงาน และการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้ในลักษณะ ประเภท และบทบาทของหนังสือและนิตยสาร 
2.1.2 สามารถรวบรวม จัดเตรียม แก้ไข ตรวจสอบต้นฉบับหนังสือและนิตยสารได้อย่างถูกต้อง 
2.1.3 มีแนวคิดการบริหารจัดการ การวางแผนการผลิตและเข้าใจกระบวนการผลิตหนังสือและนิตยสารได้
2.2.1 บรรยาย  อภิปราย การนำเสนอรายงานกลุ่ม 
2.2.2 มอบหมายงานในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
2.2.3 มอบหมายให้ค้นหาตัวอย่างการออกแบบจัดวางหน้าหนังสือและนิตยสารแต่ละประเภทโดยนำมาสรุปและนำเสนอตามหลักการที่ศึกษา 
2.2.4 การมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมการกำหนดแนวคิดอย่างเป็นระบบ และถ่ายทอดข้อมูลตามลำดับขั้นตอน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและประยุกต์ใช้ทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์และศึกษาข้อมูล ในรูปแบบของการรายงานกลุ่ม
2.3.3 ประเมินผลจากงานต้นฉบับสิ่งพิมพ์ แบบรายกลุ่ม จากโจทย์ที่มอบหมาย
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการผ่านการออกแบบหนังสือและนิตยสาร
3.1.3 สามารถประเมินผลการศึกษา โดยใช้หลักการวิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันได้อย่างเหมาะสม
3.1.4 สามารถประยุกต์การใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การสร้างสรรค์ผลงาน
3.1.5 สามารถวางแผนการปฏิบัติงานและกำหนดกรอบแนวคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1 มอบหมายงาน ที่ต้องใช้หลักการวิเคราะห์ โดยมีทฤษฎีเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน 
3.2.2 ส่งเสริมการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง  วิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
3.2.3 อภิปรายกลุ่ม การนำเสนอผลงาน การตอบคำถาม
3.3.1 การสอบประมวลความรู้ในการจัดทำโครงการศึกษาเฉพาะทางของตนเอง 
3.3.2 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการนำเสนองานของนักศึกษาทั้งรายเดี่ยวและรายกลุ่ม 
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาทั้งในงานของตนเอง และงานที่ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและเพื่อนในกลุ่ม 
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 
4.1.4 พัฒนาการประพฤติตนให้เหมาะสมในการทำงานร่วมกับบุคคลที่มีความแตกต่างกันทั้งอายุ การศึกษา ตำแหน่งหน้าที่ และความคิด ความเห็น
4.2.1 กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.2 ให้คำแนะนำในการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ และเน้นความสำคัญในการกำหนดบทบาท หน้าที่ของสมาชิกทุกคน
4.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็น โดยการจัดอภิปรายและเสวนางานที่มอบหมายให้ค้นคว้า
4.2.4 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.2.5 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3.1 ประเมินจากแบบประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ตามภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.4 ติดตามการทำงานของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมทั้งบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.3.5 ประเมินผลจากผลงานการอภิปรายและการเสวนางาน ตามที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานภายในกลุ่มผ่านทางอีเมล์  การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข   
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ด้วยตนเอง 
5.2.3 ส่งเสริมให้นำข้อมูลที่ค้นคว้า มาคัดเลือก กลั่นกรอง และเรียบเรียง เพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ ด้วยการเขียนถ่ายทอดอย่างถูกต้อง 
5.2.4 ให้คำแนะนำการให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
5.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในด้านการพัฒนาทักษะการสื่อสารผ่านการพูด และการเขียน โดยมีการบันทึกเป็นระยะ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 44011003 การผลิตสิ่งพิมพ์หนังสือและนิตยสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 2.1, 3.1-3.2 สอบปฏิบัติกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 10%, 20%
2 1.1-1.3, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.2-4.4, 5.2-5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา การนำเสนอรายงานกลุ่ม การทำงานรายบุคคล รายกลุ่ม ผลงานปฏิบัติรายบุคคล และรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.3, 3.1-3.2, 4.1-4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
จุติพงศ์  ภูสุมาศ และสุวิสา  แซ่อึ่ง, 2558. Graphic Design School.  นนทบุรี: บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
จันทนา  ทองประยูร. 2537. การออกแบบและจัดหน้าสิ่งพิมพ์. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ดนุพล  เขียวสาคู. 2549. ทำหนังสือขาย...รวย. กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็มไอเอส ซอพท์เทค จำกัด. 
ธารทิพย์  เสรินทวัฒน์. 2550. ทัศนศิลป์ : การออกแบบพาณิชย์ศิลป์. กรุงเทพฯ: หลักไทช่างพิมพ์. 
ประชา สุวีรานนท์ และคณะ. 2548. Open Types. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ Core Function. 
ปาพจน์   หนุนภักดี. 2555. Graphic Design Principles 2nd edition. นนทบุรี: บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
ปราโมทย์  แสงพลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป์ 1. โปรแกรมออกแบบหนังสือ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. กรุงเทพฯ: วีเจ พริ้นติ้ง.
วรพงศ์  วรชาติอุดมพงศ์. 2540. บทความรู้ทางการออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ออกแบบกราฟิค. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.   
วิริยะ สิริสิงห. 2550. กว่าจะเป็นหนังสือ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. 
ศุภณี  เรียบเลิศหิรัญ. 2558. การออกแบบหนังสือ นิตยสาร และวารสาร. หน่วยที่ 3 เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 
สุเชาว์  รักษ์วงศ์. 2548. เอกสารประกอบการสอน ออกแบบสิ่งพิมพ์. ลำปาง: ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ.
สุรสิทธิ์  วิทยารัฐ. 2549. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือสวนสุนันทา. 
อารยะ  ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ์. กรุงเทพฯ: บริษัท วิสคอมเซ็นเตอร์ จำกัด. 
เอกสารประกอบการฝึกอบรม. 2544.  เทคนิคการเป็นบรรณาธิการ.  นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 
เว็บไซต์เกี่ยวกับตัวอย่างสิ่งพิมพ์ ภาพตัวอย่างหนังสือ นิตยสาร เช่น 
     http://www.supremeprint.net/index.phplay=show&ac=article&Id=538763130 
     http://www.pimsuay.com/tech/paper.htm 
เว็บไซต์เกี่ยวกับตัวอักษร การใช้งานตัวอักษร ตัวพิมพ์ เช่น 
     http://letter-type.blogspot.com/2009/11/4.html 
     http://www.epccorps.com/lesson05.htm 
เว็บไซต์เกี่ยวกับประวัติการพิมพ์และธุรกิจการพิมพ์ เช่น 
     http://www.supremeprint.net/index.phplay=show&ac=article&Id=538818893 
เว็บไซต์เกี่ยวกับประเภทกระดาษ ขนาดกระดาษ ตัวอย่างกระดาษ  เช่น 
     http://www.fileopen.co.th/Gallary-Peper%20Size.html 
     http://www.fileopen.co.th/technical-Paper.html 
เว็บไซต์เกี่ยวกับการจัดหน้าสิ่งพิมพ์  การออกแบบหนังสือและนิตยสาร  เลย์เอาต์  กริด  เช่น
     http://academic.rmutl.ac.th/2012/data/pdf/download530804.pdf
     http://www.fileopen.co.th/technical-Book.html
     http://www.fileopen.co.th/technical-Lay%20Out.html
     http://thanetnetwork.com/wbiprinting/WBI/wbi_8/lesson/design_3.htm
     http://thanetnetwork.com/wbiprinting/WBI/wbi_8/lesson/design_8.htm 
เว็บไซต์เกี่ยวกับขั้นตอนการทำหนังสือ  การผลิตสิ่งพิมพ์  การพิมพ์  งานหลังพิมพ์  เช่น
     http://stanglibrary.wordpress.com/2012/12/02/ 
     http://www.fileopen.co.th/technical-Prepress-1.html
     http://www.supremeprint.net/index.phplay=show&ac=article&Id=538819934 
เว็บไซต์เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์  การละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น
     http://iamia.net/2012/04/03/when-i-was-sued/
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การประเมินผลงานของตนเอง โดยใช้แนวทางการวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไข
1.3 แบบประเมินของผู้สอน และแบบประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา
1.4 ข้อเสนอแนะผ่านแบบสำรวจแนวทางการการเรียนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง
2.1 การสังเกตการสอนของตนเอง ผ่านกิจกรรมประกอบแต่ละหน่วยเรียน
2.2 การจัดทำผลงานสรุปในรายวิชา
2.3 การทวนสอบผลการเรียนรู้ แบบภาคปฏิบัติ
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอนก่อนสอบกลางภาค และหลังสอบปฏิบัติปลายภาค
3.2 แนวทางการจัดทำผลงานให้เหมาะสมกับเวลา
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสอบปากเปล่าของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบวิธีการศึกษา และการจัดทำโครงงาน และการให้คะแนนพฤติกรรมความรับผิดชอบ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ 
5.3 ปรับปรุงรูปแบบและเทคนิคการสอนให้ทันสมัยและตอบสนองการเรียนรู้ของนักศึกษาแต่ละรุ่น