คอมพิวเตอร์กราฟิก

Graphic Computer

-เข้าใจหลักการ และทฤษฎีในการออกแบบกราฟิกได้
- ออกแบบและพัฒนางานกราฟิกคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาได้อย่างถูกต้อง
- นำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ในการผลิตสื่อกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์ได้
       -เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการ และทฤษฎีในการออกแบบกราฟิกได้
       - เพื่อให้นักศึกษาออกแบบและพัฒนางานกราฟิกคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาได้อย่างถูกต้อง
       - เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ในการผลิตสื่อกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์ได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานและการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประกอบการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิกแต่ละประเภทกระบวนการออกแบบสร้างสรรค์และการนำเสนองานคอมพิวเตอร์กราฟฟิก
ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการนอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลา  5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1 บรรยายหน้าชั้นเรียนพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2 กำหนดให้นักศึกษาสร้างงานกราฟฟิก
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์รายบุคคล
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
สามารถปฎิบัติงานได้จริง รู้จักวิธีการเขียนและสามารถทำได้ด้วยตัวเอง  มีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า รู้จักการนำเสนอผลงานที่ดีและมีความน่าสนใจอีกทั้งสามารถถ่ายทอดแก่ผู้อื่นๆ ได้    
บรรยาย สาธิตตัวอย่าง และมอบหมายให้สร้างชิ้นงานในคาบนั้นๆ
1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2   ประเมินจากงานประจำคาบเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
1   การมอบให้นักศึกษาทำโปรเจคพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
2   อภิปรายกลุ่ม
3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1   สอบกลางภาคและปลายภาค 
2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
        1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องงานคอมพิวเตอร์กราฟิก
         2  ทำรายงานกลุ่ม พร้อมทั้งอภิปรายหน้าชั้นเรียน
         3  ให้นักศึกษาจัดกลุ่มหาหัวข้อเพื่องานออกแบบที่มีความสอดคล้องกับงานคอมพิวเตอร์กราฟิก
1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
 3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5   ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก
6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และคอมพิวเตอร์กราฟิก
1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
2   นำเสนอโดยรูปแบบและผลงานด้วยคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประเมินจากพฤติกรรม การแสดงออกในการทำเสนอผลงาน และผลงานในชั้นเรียน
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
ทำนามแบบในใบงาน และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
ประเมินตามสภาพจริงโดยการประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 4 1 2 3 1 2 3 1 2 2
1 40000007 คอมพิวเตอร์กราฟิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - นักศึกษานำผลงานตนเองมาเสนอแนวความคิดต่อเพื่อนในชั้นเรียน - การประเมินโดยผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน - การสังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอนจากผลงาน - ผลการเรียนของนักศึกษา 8,17 เก็บคะแนน70% สอบ30%
Graphic Design School 
David Dabner,Sandra Stewart,Eric Zempol
"Graphic Design School" เป็นหนังสือสอนทฤษฎีกราฟิกระดับโลก จากผู้เชียวชาญซึ่งเป็นกูรูด้านกราฟิกดีไซน์จากมหาวิทยาลัยชื่อดังด้านการออกแบบ จัดทำขึ้นบนพื้นฐานที่ต้องการสร้างความเข้าใจในหลักการออกแบบการฟิกหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งพิมพ์ เว็บไซต์ หรือชิ้นงานที่จับต้องได้ เนื้อหาภายในถูกเรียบเรียงไว้เสมือนเป็นหลักสูตรการเรียนด้านออกแบบในระดับมหาวิทยาลัย พร้อมภาพตัวอย่างประกอบ อีกทั้งยังได้รวบรวมตัวอย่างผลงานหลากหลายระดับ เริ่มตั้งแต่ระดับนักศึกษาไปจนถึงนักออกแบบอาชีพ ซึ่งผ่านการคัดเลือกอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้เข้าใจถึงแก่นขององค์ความรู้อย่างแท้จริง และหลายๆ ส่วนในหนังสือ ได้สอดแทรกแบบฝึกหัดอย่างเป็นขั้นตอน หรือมอบหมายงาน รวมถึงคำแนะนำที่มีประโยชน์ ตลอดจนชี้แหล่งไอเดียวที่จะช่วยจุดประกายงานออกแบบให้กับผู้อ่าน
Part 1 Principles - Unit 1 Research and Concept - Unit 2 พื้นฐานการจัดวางองค์ประกอบ - Unit 3 พื้นฐานการใช้งานตัวอักษร - Unit 4 พื้นฐานการเลือกใช้สี
Part 2 Practice - Unit 5 เครื่องมือและเทคโนโลยี - Unit 6 การจัดพิมพ์และการนำเสนอ - Unit 7 เว็บไซต์และปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ - Unit 8 เส้นทางสู่การเป็นมืออาชีพและความร่วมมือด้านการทำงาน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้

สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา  การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทดสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4