เครื่องยนต์เล็ก

Small Engines

เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยการใช้เครื่องมือในงานเครื่องยนต์เล็กชนิดต่าง ๆ ได้ รูหลักการทำงาน หน้าที่และชิ้นส่วน หน่วยการวัด และสมรรถนะของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เข้าใจหลักการทำงานระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ระบบจุดระเบิด ระบบการหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน ระบบสตาร์ท ความปลอดภัยในการใช้งาน สามารถบำรุงรักษา การปรับตั้งและสาเหตุข้อขัดข้องและวิธีการแก้ไขได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการทำงาน มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ปลอดภัยและรักษาสภาพแวดล้อม
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยการใช้เครื่องมือในงานเครื่องยนต์เล็กชนิดต่าง ๆ ทั้งเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลียนและดีเซล หลักการทำงาน หน้าที่และชิ้นส่วน หน่วยการวัด และสมรรถนะของเครื่องยนต์ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ระบบจุดระเบิด ระบบการหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน ระบบสตาร์ท ความปลอดภัยในการใช้งาน การบำรุงรักษา การปรับตั้งและสาเหตุข้อขัดข้องและวิธีการแก้ไข
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในเวลาราชการในชั้นเรียน และเปิดช่องทางการให้คำปรึกษานอกเวลาเรียนผ่านทางโซเชียลมีเดีย
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1. มิจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2. สอดแทรกคุณธรรม ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
3. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม
4. ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1. การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. ความซื่อสัตว์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ใช้บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานมุ่งเน้นทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติ
3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. งานที่ได้มอบหมาย
5. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
6. แฟ้มสะสมผลงาน
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานโดยใช้บทบาทสมมติสถานกาณณ์จำลอง และกรณีศึกษา
1. บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
2. การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4. กรทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3. สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 การกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
2. ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติ
1. พฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา
2. นำเสนอและอภิปรายแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม
3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงานต่าง ๆ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
4. จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติ ดังนี้
1. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2. สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
3. สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมเครื่องกลกับหน่วยงานภายในและภายนอก
4. จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
2. มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
3. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-On)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.2 สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู 1.3 แสดงซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ 2.3 สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความจริงได้อย่างเหมาะสม 3.1 มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพเพื่อพัฒนานวัตกรรม 3.2 มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 4.1 แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นและมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 4.2 แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 4.3 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีมช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานและมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม 5.1 มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเข้าใจองค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว 5.2 สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สาารถสนทนา เขียนและนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 แสดงออกถึงการมีทัษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏฺบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์ 6.2 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
1 TEDME926 เครื่องยนต์เล็ก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2 สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 8 17 40
3 6.1, 6.2 ผลงานจากการลงมือปฏิบัติ ส่งการบ้านตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50
http://www.pattayatech.ac.th/external_links.php?links=1991
www.rtc.ac.th/vcharkarn/251055_1.pdf
มหาวิทยาลัย และคณะฯ จัดให้นักศึกษามีโอกาสประเมินการสอนของอาจารย์ทุกท่านในทุกรายวิชาที่เปิดสอน
คณะฯ กำหนดให้มีการประเมินเพื่อรับรองผลการเรียนของนักศึกษาในแต่ละรายวิชาโดยคณาจารย์ใน สาขาวิชาฯ และคณะกรรมการประจำคณะฯ ตามลำดับ
คณะฯ ส่งเสริมให้คณาจารย์ทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนำผลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงการสอน มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการทำงานให้แก่คณาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นประจำทุกปี 
มีการประชุมเพื่อทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา จากคะแนนสอบหรืองานที่มอบหมายของนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาโดยคณะกรรมการประจำหลักสูตรฯ และคณาจารย์ผู้สอน และมีการประชุมรับรองโดยคณะกรรมการคณะ
คณะฯ แจ้งผลการประเมินจากข้อ ๑ และ ๒ ให้อาจารย์ผู้สอนทราบ เพื่อวางแผนปรับปรุงการเรียนการ สอนของตนในครั้งต่อไป