อารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ

Comparative Civilization and Religions

1.เข้าใจความเป็นมาของอารยธรรมไทยในช่วงเวลาก่อนรับอิทธิพลต่างชาติและสมัยที่รับอิทธิพลต่างชาติ
2.วิเคราะห์ผลกระทบจากอิทธิพลต่างชาติที่มีผลต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย
3.เปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก
4.เข้าใจเกี่ยวกับความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ
ศึกษาความเป็นมาและเปรียบเทียบอารยธรรมไทยในช่วงเวลาก่อนรับอิทธิพลต่างชาติและสมัยที่รับอิทธิพลต่างชาติที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย และวิเคราะห์อิทธิพลพร้อมทั้งเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก รวมถึงความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ
ศึกษาความเป็นมาและเปรียบเทียบอารยธรรมไทยในช่วงเวลาก่อนรับอิทธิพลต่างชาติและสมัยที่รับอิทธิพลต่างชาติที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย และวิเคราะห์อิทธิพลพร้อมทั้งเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก รวมถึงความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม

1.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม
( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ด้านคุณธรรมจริยธรรม   1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.2.1.1   1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.2.1.1   1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 2.2.1.1   1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 2.2.1.1

 
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน ü   2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ ü   3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ ü   5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ ü   6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย ü   2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ü   3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน ü   4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก ü   5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน ü

 
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจ)

บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน

Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม

 
2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ด้านความรู้   1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.2   2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.2
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ ü   2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ ü   3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ü   4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน ü   5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ ü   6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน ü   2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค ü   3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน ü   4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า ü
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล

3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะทางปัญญา 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.2.1.3 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.2.1.3 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 2.2.1.3
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย ü   2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม ü   3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา ü   4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ ü   5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ ü   2. การสอบข้อเขียน ü   3. การเขียนรายงาน ü
Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2.2.1.4 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 2.2.1.4   3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 2.2.1.4
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ ü   2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม ü   3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน ü   2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) ü   3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน ü   4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ü   5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา ü
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน

5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1.5 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.2.1.5 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1.5
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ     2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน     3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน ü   4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ü   5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง ü

 
 
 
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ü   2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน     3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ ü   4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า ü
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
6.1 ผลการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
( ให้ดูใน มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2.2.3 เป็นต้นไป ของแต่ละรายวิชา )
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ ü   2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก ü   3. ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน ü   2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ü   3. ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน ü
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOATH125 อารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน เก็บคะแนน ทุกสัปดาห์ 5%
2 การมีส่วนร่วมในการแสดงบทบาทสมมุติ เก็บคะแนน 8,13 5%
3 การค้นคว้าด้วยตนเอง รายงาน ทุกสัปดาห์ 5%
4 การทำรายงานกลุ่ม รายงาน 13 10%
5 การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนและสถานที่จริง สอบเก็บคะแนน 7,14,15 15%
6 การสอบ สอบกลางภาคและปลายภาค 9,17 60%
กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2527). คู่มือบรรพชาอุปสมบท ฉบับกรมการ
ศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
________. (2525). คู่มือบรรพชาอุปสมบท ฉบับกรมการศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
คูณ โทขันธ์. (2545). พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
จุฬาลักษณ์ สีดาคุณ. (2556). ประเพณีไทย. วันที่ค้นข้อมูล 7 กรกฎาคม 2556, เข้าถึงได้
จาก http://personal.swu.ac.th.
ธวัช ปุณโณทก. (2522). ความเชื่อพื้นบ้านอันสัมพันธ์กับวิถีชีวิตในสังคมอีสาน ในวัฒนธรรมพื้นบ้าน: คติ
ความเชื่อ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชำเลืองวุฒิจันทร์และคณะ.(2525). คู่มือการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน.สำนักงาน
เสริมสร้าง เอกลักษณ์แห่งชาติ.กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน.
ประเทือง คล้ายสุบรรณ. (2531). วัฒนธรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย.
ประสาท หลักศิลา. (2520). “ข้อคิดเรื่องพิธีกรรม” มิตรครู. กรุงเทพฯ: แพร่วิทยา.
ปรีชา นุ่นสุข. (2528). ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมประเพณีไทย. นครศรีธรรมราช:
ศูนย์วัฒนธรรม ภาคใต้ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช.
แปลก สนธิรักษ์. (2515). พิธีกรรม และ ประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช .
พระครูพุทธศาสน์โศภณ (แคล้ว สุสํวุโต). (2530). การบรรพชา อุปสมบท. กรุงเทพฯ : การศาสนา.พระครูอรุณธรรมรังสี. (2539). มนต์พิธีแปล. กรุงเทพฯ : อักษรสมัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่9.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553). สอนนาค-สอนฑิต ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 13.
กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมสารจำกัด.
พระมหาหรรษา นิธิบุณยากร. (2545). วิกฤติพุทธศาสนา: ศึกษากรณีการบรรพชาเป็นสามเณรใน ประเทศ
ไทย (2523 - 2543). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพระพุทธศาสนศึกษา
, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พระราชวิสุทธิเวที (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.9). (2518). ระเบียบปฏิบัติของชาวพุทธ. กรุงเทพฯ: ส. สมบูรณ์
การพิมพ์.
พระเอกชัย พัฒนะสิงห์. (2550). ความเชื่อ ค่านิยม ความคาดหวัง และเจตคติของชาวพุทธที่มีต่อการ บรรพชา
อุปสมบทตามประเพณีไทยในพระพุทธศาสนาในอำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น.ปริญญาการศึกษา
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). บวชทำไม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ภารดี มหาขันธ์. (2532). พื้นฐานอารยธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด.
ภิญโญ จิตต์ธรรม. (2522). ขนบธรรมเนียมประเพณี. สงขลา : มงคลการพิมพ์.
มณี พยอมยงค์. (2530). ความเชื่อของคนไทยใน วัฒนธรรมพื้นบ้าน : คติความเชื่อ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเดชั่นส์จำกัด.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2539). สารานุกรมพระพุทธศาสนา ประมวล จากพระ
นิพนธ์. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมัย สุทธิธรรม. (2531). ปอยส่างลอง. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
สริวัฒน์ คำวันสา. (2543). ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย.
สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทย
พานิชย์.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2514). พจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เฟื่องอักษร.
________. (2539). พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การ ศาสนา.
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค 1.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุเมธ เมธาวิทยกุล. (2532). สังกัปพิธีกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สุนทรียา สุนทรวิภาต. (2529). ความสำคัญของการบวชในพระพุทธศาสนาที่มีผลต่อสังคมไทยใน ปัจจุบัน: ศึกษา
เฉพาะกรณีในกรุงเทพมหานครและจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ, มหาวิทยาลัยมหิดล.
เสถียร โกเศศ. (2524). วัฒนธรรมเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. (2541). สามเณร : เหล่ากอแห่งสมณะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2517). วรรณกรรมของไทย เรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
สุรศักดิ์ สรอยครบุรี. ศาสนาเปรียบเทียบ . ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2539 .
แสง จันทร์งาม. ศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531.
อุทัย ดุลยเกษม. บูรณาการในสังคมและวัฒนธรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช, 2533.
-
-
เช่น การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนิสิต / แบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินรายวิชา
การสังเกตพฤติกรรมของนิสิต / ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ได้จัดทาไว้สื่อสารกับ นิสิต
• การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
• ผลการสอบ/การเรียนรู้
• การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
• การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบและวิธีการประเมิน
• สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน
• การวิจัยในชั้นเรียน
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย