การผลิตโคนม

Dairy Cattle Production

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

To develop and build-up manpower with practical knowledge in tropical dairy production and new dairy production technology. To develop dairy raising expertise and gain confident in order to raise dairy cow as main career. To build-up positive attitude for dairy cattle production entrepreneur.
Study and practices on importance and dairy production situation in domestic and abroad. Breeds and breeding. Housing and equipment. Feed and feeding. Herd management and administration of dairy farms. Standard practices of dairy farms. Waste management, hygiene and herd health management. Milk management and marketing.
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
 
1. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)

การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)

3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)

การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

5. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
6. การสอนฝึกปฏิบัติการ
7. การสอนโดยใช้เกม (Games
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
3.การสัมภาษณ์
4.การส่งรายงาน
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและ หลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. การนำเสนองาน
5. รายงานบทปฏิบัติการ
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่าง มีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. การนำเสนองาน
5. รายงานบทปฏิบัติการ
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
 
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point / Visualizer
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็น ธรรมชาติ
ปฏิบัติภาคสนามในฟาร์มฝึกงาน นักศึกษา(ฟาร์มโคนม)สาขาวิชาสัตวศาสตร์
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
4. รายงานบทปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 การสอบกลางภาค/ การสอบย่อย 9/15 7%/20%
3 3.1 การสอบปลายภาค 18 19%
4 4.1, 4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
5 5.1 การนำเสนองาน/การรายงาน 4-5-6,10-11-12 20%
6 6,1, 6.2 การฝึกปฏิบัติ รายงานปฏิบัติการ การตอบคำถาม การสังเกต 2-17 24 %
Dairy Cattle Science. (4th Edition) by Howard Tyler and M. E. Ensminger.
Bath, D.L. et al. 1978. Dairy Production. 2nd ed. Philadelphia : Lea & Feiger.
Related articles for each topics
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขา การศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้น เรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของ นักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป