พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว

Tourist Behavior

พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวโดยจำแนกตามภูมิภาคของโลก แรงจูงใจในการเดินทาง วัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวจำแนกตามกลุ่ม ประเภท และความต้องการของนักท่องเที่ยว องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ พฤติกรรมที่แตกต่างกันทางสังคม วัฒนธรรม และศาสนาของนักท่องเที่ยว
A study of tourist behavior classified on the basis of world region; travel motivation; objectives of tourism; tourism activities classified by groups, types and demand of tourists; factors influencing purchase decision. Study various types of tourist behavior according to their society, culture and religion
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมนักท่องเที่ยว รวมไปถึงเข้าใจพฤติกรรมที่แตกต่างกันทางสังคม วัฒนธรรมและศาสนาของนักท่องเที่ยว รวมทั้งมีทักษะมนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพ ทักษะการปฏิบัติในสายวิชาชีพเบื้องต้น และมีคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสม  และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวโดยจำแนกตามภูมิภาคของโลก แรงจูงใจในการเดินทาง วัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวจำแนกตามกลุ่ม ประเภท และความต้องการของนักท่องเที่ยว องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ รวมทั้งศึกษาพฤติกรรมที่แตกต่างกันทางสังคม วัฒนธรรมและศาสนาของนักท่องเที่ยว
            A study of tourist behavior classified on the basis of world region; travel motivation; objectives of tourism; tourism activities classified by groups, types and demand of tourists; factors influencing purchase decision. Study various types of tourist behavior according to their society, culture and religion
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศให้คำปรึกษาในชั่วโมงเรียน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ                            สาขาศิลปศาสตร์   คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม / 1.มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1.1.1   2.  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.1.1.2 / 3.   ความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 2.1.1.3   4.  มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 2.1.1.4
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน 2.1.2.1 √ 2.  สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ 2.1.2.2 √ 3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 2.1.2.3 √ 4.  สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Coad) ที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ 2.1.2.4   5.  การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่างๆ 2.1.2.5 √ 6.  การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน 2.1.2.6
 รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1)  ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย 2.1.3.1 √ 2)  สังเกตการณ์แสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน 2.1.3.2 √ 3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน 2.1.3.3 √ 4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก 2.1.3.4   5)  ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน 2.1.3.5
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ                           สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา
  ด้านความรู้ / 1.  มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.1   2.  มีความรู้เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3.  มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ √ 1.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ 2.2.2.1 √ 2.  มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม 2.2.2.2   3.  ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ 2.2.2.3 √ 4.  อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 2.2.2.4 √ 5.  การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน 2.2.2.5   6.  ฝึกปฏิบัติกับสถานประกอบการ 2.2.2.6   7.  ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมมือกับมืออาชีพ (Professional) ในวิชานั้นๆ 2.2.2.7
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน 2.2.3.1 √ 2.  ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2.2.3.2 √ 3.  ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 2.2.3.3 √ 4.  ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า 2.2.3.4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ                           สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะทางปัญญา / 1.  มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.3.3.1   2.  มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.3.3.2   3.  มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 2.3.3.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนงานวิจัย 2.3.2.1 √ 2.  การอภิปรายเป็นกลุ่ม 2.3.2.2 √ 3.  การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา 2.3.2.3   4.  การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ 2.3.2.4   5.  กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการ           การควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม 2.3.2.5
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ 2.3.3.1 √ 2.  การสอบข้อเขียน 2.3.3.2   3.  การเขียนรายงาน 2.3.3.3
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ                           สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ / 1.  มีสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ดี 2.4.1.1   2.  มีความสามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล 2.4.1.2   3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 2.4.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ 2.4.2.1 √ 2.  มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม 2.4.2.2 √ 3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษา 2.4.2.3
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน 2.4.3.1   ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน 2.4.3.2   ใช้ประวัติสะสมงาน (Portfolio) ในการประเมิน 2.4.3.3 √ สังเกตพฤติกรรมในการเรียน 2.4.3.4   ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา 2.4.3.5
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ                           สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   1.  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.1   2.  มีความสามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.5.1.2   3.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยการสอบปฏิบัติและสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ 2.5.2.1   2.  ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน 2.5.2.2 √ 3.  นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน 2.5.2.3 √ 4.  บูรณาการการโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสิ่งต่างๆ 2.5.2.4   5.  ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.5.2.5
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.5.2.1 √ 2.  ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 2.5.2.2 √ 3.  ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ 2.5.2.3   4.  ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า 2.5.2.4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ                           สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะด้านการปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ / 1.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2.6.1.1   2.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2.6.1.2   3.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล 2.6.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ 2.6.2.1   2.  จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก 2.6.2.2 √ 3.  ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล 2.6.2.3
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน 2.6.2.1 √ 2.  ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.6.2.2 √ 3.  ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน 2.6.2.3
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. จริยธรรมและคุณธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH104 พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1.1,2.3.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 60%
2 2.1.1.1,2.1.1.3, 2.4.1.1,2.6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 2.1.1.3, 2.4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สุวีร์ณัสญ์ โสภณสิริ,การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยว,กรุงเทพฯ: อินทนิล,2554
            วีระรัตน์  กิจเลิศไพโรจน์.การตลาดธุรกิจบริการ.—กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2548.
            สิทธิ์  ธีรสรณ์. การสื่อสารทางการตลาด: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด. 2555
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. พฤติกรรมนักท่องเที่ยว.นนทบุรี : หจก.เฟิร์นข้าหลวง พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,2555.
เอกสารประกอบการสอนและ Power Point           
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). แผนการพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2560-2564).   กรมการท่องเที่ยว, (online). http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=8370. ( 19 เม.ย. 2560 )
วารสารการท่องเที่ยว
http://thai.tourismthailand.org
http://www.tourism.go.th
http://www.mots.go.th
http://www.tatreviewmagazine.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (ทำวาระประชุมแบบไม่เป็นทางการ ทั้งก่อนเรียน /หลังสอบมิดเทอมและไฟนอล)
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา (ใช้แบบฟอร์มของมหาวิทยาลัย)
1.3ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถาม ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา (แบบสอบถามหลังเรียนทุกชั่วโมง)
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน (เชิญอาจารย์ในสาขาวิชาประเมินการสอน ถ้าไม่สะดวกอัดวีดีโอ แล้วส่งให้หัวหน้าหลักสูตรและอาจารย์สายวิชาชีพประเมิน)
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3   ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4   ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย