เทคโนโลยีไขมันและน้ำมัน

Fat and Oil Technology

2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถ ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติในงานด้านสาขาอุตสาหกรรมเกษตร
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนางานด้านอุตสาหกรรมอาหาร โดยมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรมอาหารให้สอดคล้องภูมิปัญญาท้องถิ่นตามความเหมาะสม
รายวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มวิชาชีพเลือก ที่นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนเรียน และนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
3.1 เพื่อพัฒนาและปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาให้ได้มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
3.2 เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
3.3 ส่งเสริมการใช้ความรู้ แก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จริง
3.4 เพื่อเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
สมบัติทางเคมี และกายภาพของไขมัน และน้ำมันที่ใช้บริโภคการสลัดปละการทำน้ำมันให้บริสุทธิ์ การเสื่อมเสีย การเก็บรักษา การแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อการบริโภค
จัดให้นักศึกได้เข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง (ตามรายละเอียดที่ปรากฏในตารางสอนและตารางปฏิบัติงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา) โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เมื่อเริ่มต้นการเรียนการสอนในภาคการศึกษา โดยมีกำหนด ดังนี้
3.1 วันพุธ เวลา 15.00-17.00.น. และ วันศุกร์ เวลา 11.00-12.00 น.
สถานที่ : ห้องพักชั้น 3 AI 18-304
3.2 โทร : 08-6912-3868 Face Book : Teeravat Teetee
E-mail : teeravat@rmutl.ac.th / teetep_1103@hotmail.co.th
ID Line : teetep2516 (ทุกวัน ขึ้นกับสถานการณ์และความจำเป็นของนักศึกษา)
3.3 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ และแจ้งนัดหมาย)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียน 1-7 การทดสอบย่อย (Quiz) 2-16 20 %
2 หน่วยเรียน 1-7 การเขียนรายงานกลุ่มตามบทปฏิบัติการที่มอบหมาย 1-8, 10-16 30 %
3 หน่วยเรียน 1-4 การสอบกลางภาค 9 20 %
4 หน่วยเรียน 5-7 การสอบปลายภาค 17 20 %
5 หน่วยเรียน 1-7 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-8, 10-16 10 %
 นิธิยา รัตนาปนนท์. 2545. เคมีอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2544. วิทยาศาสตร์การอาหารของไขมันและน้ำมัน. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
วสุ สันติมิตร. 2534. พืชน้ำมัน. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์นครศรีธรรมราช สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, นครศรีธรรมราช.
บวร. 2540. น้ำมันปลา : สารโภชนาการช่วยกู้ชีวิต. เจริญวิทย์การพิมพ์, กรุงเทพฯ. 143 น.
สมพงษ์ สหพงษ์. 2541. น้ำมันปลา : น้ำมันลดไขมัน. สำนักพิมพ์รวมทรรศน์, กรุงเทพฯ. 79 น.
Allen, R. J. and R. J. Hamilton. 1994. Rancidity in Foods. 3rd ed. Blackie Academic & Professional, New York, U.S.A.
Fennema, O. R. 1985. Food Chemistry, 2nd ed, Revised and Expaned. Marcel Dekker, Inc. New York, U.S.A. 997 p
C.M.D. and A. A. , Jones. 1994. Shelf Life Evaluation of Foods. Blackie Academic & Professional. London, UK. 321 p.  
เวปไซด์แนะนำวารสารต่างประเทศเพื่อ Journal of Food Lipid, Journal American Oil’s Chemist Society, Food Chemistry, Asian journal of Food and Agro-industry, มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เวบไซต์ อาทิ
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
www.nfi.or.th/index.asp
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอนจัดได้ชี้แจงแบบประเมินทางออนไลน์ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา หลังจากที่ได้ศึกษารายวิชาเคมีอาหาร 2 ครบ 15 สัปดาห์ โดยให้นักศึกษาประเมินหลังจากการสอบปลายภาค ว่านักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ประโยชน์ ที่นักศึกษาได้รับ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะจากนักศึกษา เพื่อการปรับปรุงรายวิชา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน ร่วมกันประเมินการสอน โดยประเมินจากนักศึกษา สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอน และสภาพแวดล้อมระหว่างการเรียนการสอน โดยประเมินจากกระบวนการสอน ผลที่เกิดกับนักศึกษา หลังจากสอบปลายภาค โดย
1. รวบรวมข้อมูลจากการประเมิน 4 ส่วน โดยแบ่งคะแนนจากคะแนนทั้งรายวิชา 100 คะแนน เป็น

การทดสอบแต่ละหน่วยเรียนภาคทฤษฏี การสอบปฏิบัติและรายงานบทปฏิบัติการ จิตพิสัยในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมสาขาหรือกิจกรรมมหาวิทยาลัย

2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้องมี

คะแนนภาคปฏิบัติไม่ต่ำกว่า 60 % และ จิตพิสัยไม่ต่ำกว่า 50 % ) ผ่านการทดสอบรายหน่วยเรียนไม่ต่ำกว่า 50 %

3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน การประเมินผลเป็นไปตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลของมหาวิทยาลัย
การสอนถูกปรับปรุงโดยนำข้อมูลจากการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาและการประเมินการสอน ข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัยข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา หรือคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาไขมันและน้ำมัน มาปรับปรุงเนื้อหาภาคทฤษฎี บทปฏิบัติการ และวิธีการสอนให้สามารถสอบสนองต่อความต้องการของนักศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
พิจารณาความเหมาะสมของคะแนนนักศึกษารายบุคคลในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้โดยผู้สอนหรือทวนสอบโดยกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งสุ่มตรวจจาก คะแนนสอบ ข้อสอบหรือสัมภาษณ์นักศึกษา ตามคู่มือและขั้นตอนการทวนสอบที่ประกาศใช้ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการจากนักศึกษา คะแนนสอบของนักศึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และปัญหาที่นักศึกษาเข้าปรึกษากับอาจารย์ โดยอาจารย์ผู้สอนนำข้อมูลดังกล่าวเข้าขอคำปรึกษาภายในที่ประชุมกับอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านอื่นๆ เพื่อร่วมกันแนะนำแนวทาง วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหา อีกทั้งยังนำข้อมูลดังกล่าวไปทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ หากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมภาควิชาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป โดยมีกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพตามความเหมาะสม