เคมีอาหาร 2

Food Chemistry 2

ศึกษาองค์ประกอบและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของ ผัก ผลไม้และผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ ไขมัน น้ำมันและผลิตภัณฑ์ น้ำนมและผลิตภัณฑ์ การเกิดปฏิกิริยาสีน้ำตาลในอาหารและการควบคุมป้องกัน เอนไซม์ในอาหาร วัตถุเจือปนในอาหาร ทฤษฎี หลักการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือชั้นสูงและการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์อาหาร
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาให้ได้มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
องค์ประกอบและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของ ผัก ผลไม้และผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ ไขมัน น้ำมันและผลิตภัณฑ์ น้ำนมและผลิตภัณฑ์ การเกิดปฏิกิริยาสีน้ำตาลในอาหารและการควบคุมป้องกัน เอนไซม์ในอาหาร วัตถุเจือปนในอาหาร ทฤษฎี หลักการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือชั้นสูงและการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์อาหาร
1.30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
7. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
8. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)
9. การสอนฝึกปฏิบัติการ
10. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
11. การสอนในห้องปฏิบัติการ
12. การสอนแบบ Problem Based Learning
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5. ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
6.แบบรายงานด้านการปฏิบัติเน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
4. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar)
5. การสอนฝึกปฏิบัติการ
6. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ
8. การสอนแบบ Problem Based Learning
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5. ข้อสอบปรนัย
6.แบบรายงานด้านการปฏิบัติ
เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
 
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
4. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
5. การสอนฝึกปฏิบัติการ
6. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ
8. การสอนแบบ Problem Based Learning
9. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5. ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
6.แบบรายงานด้านการปฏิบัติ
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสัมมนา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5. ข้อสอบปรนัย
6.แบบรายงานด้านการปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
6.5. ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
6.6.แบบรายงานด้านการปฏิบัติ
 
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Powerpoint
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสัมมนา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5. ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
6.แบบรายงานด้านการปฏิบัติ
 
1. สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
โครงงาน
ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การถามตอบสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5.แบบรายงานการปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 3 4 1 1 1
1 24124302 เคมีอาหาร 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียน 1-6 การทดสอบย่อย 2-16 20%
2 หน่วยเรียนที่ 1-6 การเขียนรายงานกลุ่มตามบทปฏิบัติการที่มอบหมาย 1-8, 10-16 30 %
3 หน่วยเรียน 1-4 การสอบกลางภาค 9 20 %
4 หน่วยเรียน 5-6 การสอบปลายภาค 17 20 %
5 หน่วยเรียน 1-6 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-8, 10-16 10%
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2545. เคมีอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2544. วิทยาศาสตร์การอาหารของไขมันและน้ำมัน. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
นิธิยา รัตนาปนนท์ และ วิบูลย์ รัตนาปนนท์. 2543. สารพิษในอาหาร. โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ.
รัชนี ตัณฑะพานิชกุล. 2535. เคมีอาหาร. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.
Allen, R.J. and R.J. Hamilton.1994. Rancidity in Foods. 3rd ed. Blackie Academic & Professional, New York, U.S.A.
Fennema, O.R. 1985. Food Chemistry. 2nd ed, Revised and Expaned. Marcel Dekker, Inc.New York, U.S.A.
Maga, J.A. and Anthony T. Tu. 1994. Food Toxicology. Marcel Dekker, Inc. New York, U.S.A.
เวปไซด์แนะนำวารสารต่างประเทศเพื่อ เพื่อ Food Chemistry, Journal of Food and Chemistry, Asian journal of Food and Agro-industry, มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เวปไซด์แนะนำวารสารต่างประเทศเพื่อ เพื่อ Food Chemistry, Journal of Food and Chemistry, Asian journal of Food and Agro-industry, มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา  การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน
1.3  แบบประเมินรายวิชา
1.4 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัย   
 
     2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมสอน
     2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
 
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเคมีอาหารในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเคมีอาหารจากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
 
 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2  เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับหน่วยงานภายนอก