การออกแบบและการอินเตอร์เฟสไมโครคอนโทรลเลอร์

Microcontroller System Design and Interface

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน ของระบบการออกแบบและการอินเตอร์เฟสไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนําความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ และออกแบบ การควบคุมด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ 1.3 เพื่อให้นักศึกษานําหลักการของระบบการออกแบบและการอินเตอร์เฟสไมโครคอนโทรลเลอร์ ไปประยุกต์ในงานควบคุม  
2.1 ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้ในวิวัฒนาการ ใน เรื่องของระบบการออกแบบและการอินเตอร์เฟสไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความตามทันเทคโนโยลีสมัยใหม่ ในเรื่องโมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟสและการเขียนโปรแกรมควบคุม  
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์ รีจีสเตอร์ หน่วยควบคุม การจัดการระบบอินพุตและเอาต์พุตของไมโครโปรเซสเซอร์ กลุ่มมคําสั่ง และการเขียนโปรแกรม ภาษาแอสแซมบลี้ของไมโครโปรเซสเซอร์ การโปรแกรมระบบอินพุตและเอาต์พุต การจัดการระบบหนวยความจํา การขัดจังหวะ การเชื่อมต่อระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์และชิพซัพพอร์ต การติดต่อระบบอินพุตและเอาต์พุตผ์านกราฟฟิกโปรแกรมมิ่ง  
- อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)  
พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคล การไมเปดเผยขอมูล การไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟตแวร และไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตย ในการเขียนโปรแกรม อยางมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตยสุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีม และสามารถแกไขขอขัดแยง และ ลําดับความสําคัญ 1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นผูอื่น รวมทั้งเคารพในคุณคา และศักดิ์ศรีของความเปน มนุษย 1.1.5 เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตาง ๆ ขององคกรและสังคม 1.1.6 สามารถวิเคราะหผลกระทบจากการใชไมโครโปรเซสเซอรและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ตอ บุคคลองคกรและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  
1.2.1 บรรยายพรอมยกตัวอยางกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวของกับ ฮารดแวร เชน การใชไมโครโปรเซสเซอร ในทางที่ผิด โดยมีวัตถุประสงคไมสุจ จากมิจฉาชีพ การปองกันตนเอง 1.2.2 อภิปรายกลุม 1.2.3 กําหนดใหนักศึกษาหาตัวอยางที่เกี่ยวของ หรือกําหนดบทบาทสมมุติ  
1.3.1 พฤติกรรมการเขาเรียน และสงงานที่ไดรับมอบหมายตามขอบเขตที่ใหและตรงเวลา 1.3.2 มีการอางอิงเอกสารที่ไดนํามาทํารายงาน อยางถูกตองและเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะหกรณีศึกษา 1.3.4 ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย  
มีความรูเขาใจหลักการทํางานของ ไมโครโปรเซสเซอรและชิพซัพพอรต เขาใจกลุมคําสั่ง และการเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี้ของไมโครโปรเซสเซอร รูหลักการออกแบบวงจรเชื่อมตอ ระหวางไมโครโปรเซสเซอรและชิพซัพพอรต เขาใจการติตตอระหวางไมโครโปรเซสเซอรกับอุปกรณภายนอก สามารถประยุกตใชไมโครโปรเซสเซอรในงานควบคุมอุปกรณภายนอกได เขาในหลักการติดตอระบบอินพุตผานกราฟกโปรแกรมมิ่ง สามารถแกปญหาที่เกิดจากการออกแบบทั้งวงจร และโปรแกรม และยังตระหนักถึงความสําคัญในการใชไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส  
บรรยาย อภิปราย และทําแบบฝกหัด สาธิตการใชอุปกรณและการเขียนโปรแกรม กําหนด ทํางานกลุม การนําเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และมอบหมายใหคนหาบทความ ขอมูลที่ เกี่ยวของ โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใชปญหา และทําการทดลองโดยเนนผูเรียนเปน สําคัญ  
2.3.1 ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากผลการทดลองและปฏิบัติงาน 2.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการทํางาน  
พัฒนาความสามารถในกระบวนการคิด วิเคราะห การแกปญหา และมีทักษะการปฏิบัติการ  
3.2.1 การมอบใหนักศึกษา วิเคราะหและแกไขปญหา ตามใบงาน 3.2.2 สาธิตจากแบบจําลองในปญหารูปแบบตาง ๆ 3.2.3 ฝกตอบปญหาในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็น กระตุนโดยวิธีการซักถาม 3.2.4 การสะทอนแนวคิดจากการประพฤติ  
3.3.1 สอบแตละใบงาน ดวยการลงมือทดลอง เปนรายบุคคล โดยเนนขอสอบที่มีการวิเคราะห สถานการณ หรือวิเคราะหแนวคิดในการออกแบบวงจร 3.3.2 วัดผลจากการการทํางานปฏิบัติการทดลอง 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแกไขปญหา  
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสรางสัมพันธภาพระหวางผูเรียนดวยกัน 4.1.2 พัฒนาความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหครบถวนตาม กําหนดเวลา  
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุมการทําใบงาน ในการวิเคราะหกรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุมและรายบุคคล เชน การคนควาความกาวล้ําของเทคโนโลยี การนํา ตัวอยางการใชเทคโนโลยีระบบไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟสสมัยใหม หรือ อานบทความที่ เกี่ยวของกับรายวิชา 4.2.3 การนําเสนอรายงาน  
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ดวยแบบฟอรมที่กําหนด 4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเปนทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาดวยตนเอง  
5.1.1 ทักษะการคิดคํานวณ เชิงตัวเลข 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และ นําเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบคน ขอมูลทางอินเตอรเน็ต 5.1.5 ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เชน การสงทางอีเมล การสรางหองแสดง ความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ เชน Web Board Blog การสื่อสารการทํางานในกลุมผานหองสนทนา Chat Room 5.1.6 ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
5.2.1 มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง จากเว็บไซตสื่อการสอน E- Learning และทํา รายงานโดยเนนการนําตัวเลข หรือมีสถิติอางอิง จากแหลงที่มาขอมูลที่นาเชื่อถือ 5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
5.2.1 มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง จากเว็บไซตสื่อการสอน E- Learning และทํา รายงานโดยเนนการนําตัวเลข หรือมีสถิติอางอิง จากแหลงที่มาขอมูลที่นาเชื่อถือ 5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 นื้อหา สัปดาหที่ 1-7 เนื้อหา สัปดาหที่ 9-16 ทดสอบยอยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบยอยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 48 12 16 10% 25% 10% 25%
2 เนื้อหา สัปดาหที่ 1- 16 วิเคราะหกรณีศึกษาคนควา การนําเสนอ รายงาน การทํางานกลุมและผลงาน การอานและสรุปบทความ การสงงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 20%
3 เนื้อหา สัปดาหที 1-16 การเขาชั้นเรียน การมีสวนรวม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
1. บัณฑิต จามรภูมิ. ไมโครโปรเซสเซอร. กรุงเทพฯ .ซีเอ็ตยูเคชั่น ,2539 . 2. ธีรวัฒน ประกอบผล. ไมโครโปรเซสเซอร. กรุงเทพฯ .ทอป ,2551. 3. ยืน ภูวรวรรณ. ไมโครโปรเซสเซอร. กรุงเทพฯ . ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2539. 4. วิลาศิณี วิสิทธิ์กาศ. Microcontroller in action : ทดลองและใชงานไมโครคอนโทรลเลอร ATmega128 ดวย โปรแกรมภาษา C กับซอฟตแวร Wiring ,กรุงเทพฯ : อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต, 2552. 5. เดชฤทธิ์ มณีธรรม, สําเริง เต็มราม. คัมภีรไมโครคอนโทรลเลอร MCS51 = Microcontroller MCS-51 กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ แอนด คอนซัลท, 2548. 6. Richard Barnett, Larry o’ Cull, and Sarah Cox. Embedded C programming and the Atmel AVR. Australia ,Thomson Delmar Learning, 2007.  
เว็บไซต ที่เกี่ยวกับหัวขอในประมวลรายวิชา เชน Wikipedia คําอธิบายศัพท  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น กนักศึกษาไดดังนี้ 1.1 การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน 1.2 แบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ขอเสนอแนะผานเว็บบอรด ที่อาจารยผูสอนไดจัดทําเปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษา  
ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณสอนของผูรวมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนร  
หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน  
ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่คาดหวังจากการ รียนรูในวิชา ไดจาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล การ ทดสอบยอย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้ 4.1 การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่น หรือผูทรงคุณวุฒิ ที่ไมใชอาจารยประจําหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษา โดย ตรวจสอบขอสอบ รายงาน วิธีการใหคะแนนสอบ และการใหคะแนนพฤติกรรม  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ไดมีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอน เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตความรูนี้กับปญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารยหรืออุตสาหกรรมตาง ๆ