การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

Suppy Chain Management

เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและการดำเนินการของโลจิสติกส์ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม สามารถนำแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทานและนำแนวคิดการบริหารโซ่อุปทานมาประยุกต์ใช้ สามารถประเมินผลความสามารถของโซ่อุปทานในภาคธุรกิจ และโซ่อุปทานทั่วโลก
เพื่อผลิตบัณฑิตรระดับปริญญาตรีที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและสามารถปฏิบัติงานในด้านงานโซ่อุปทาน งานโลจิสติกส์มีความสามารถปฏิบัติงานเฉพาะด้านสามารถเข้าใจหลักการการดำเนินการของโลจิสติกส์ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม การจัดการโซ่อุปทานและแนวคิดการบริหารโซ่อุปทานการประเมินผลความสามารถของโซ่อุปทานการบริหารโซ่อุปทานทั่วโลกนำหลักการและทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในระบบของโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ศึกษากระบวนการทางธุรกิจที่ครอบคลุมจากผู้จัดส่งวัตถุดิบผ่านกระบวนการผลิตไปสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย           การพัฒนาระบบการติดต่อสื่อสารทางการตลาด  ระหว่างพันธมิตรทางธุรกิจ การบริหารข้อมูลสารสนเทศและต้นทุน  การดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพโดยรวม ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว แนวโน้มการจัดการห่วงโซ่อุปทานในโลกอนาคต
เวลาให้คำปรึกษานักศึกษา หลักเลิกเรียนตั้งแต่เวลา 16.00-17.00 น
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

1.1.1  มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
1.1.2  แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3  ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.4  เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
วิธีการสอน 
เน้นในเรื่องให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานในเวลาที่กำหนด ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายกลุ่ม จัดกิจกรรมการพัฒนาคณะ / มหาวิทยาลัย / ชุมชน 1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1  เช็คชื่อการเข้าเรียน ตรวจสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2  พฤติกรรมการเข้าร่วมทำกิจกรรมการพัฒนาของนักศึกษา
1.3.3  ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.1  เช็คชื่อการเข้าเรียน ตรวจสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2  พฤติกรรมการเข้าร่วมทำกิจกรรมการพัฒนาของนักศึกษา
1.3.3  ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 สามารถเข้าใจแนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานของการจัดการโซ่อุปทาน
2.1.2 สามารถนำแนวคิดและทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมได้
2.2.1บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน
2.2.2 มอบหมายให้ประยุกต์ใช้แนวคิด และทฤษฎี การจัดการโซ่อุปทาน กับบริษัทกรณีศึกษา เพื่อวิเคราะห์รูปแบบโซ่อุปทาน การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับโซ่อุปทาน ด้วยเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโซ่อุปทาน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยนำทฤษฎีและหลักการของการจัดการห่วงโซ่อุปทานนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 สามารถเข้าใจแนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานของการจัดการโซ่อุปทาน
2.1.2 สามารถนำแนวคิดและทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมได้
2.2 วิธีการสอน
2.2.1บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน
2.2.2 มอบหมายให้ประยุกต์ใช้แนวคิด และทฤษฎี การจัดการโซ่อุปทาน กับบริษัทกรณีศึกษา เพื่อวิเคราะห์รูปแบบโซ่อุปทาน การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับโซ่อุปทาน ด้วยเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโซ่อุปทาน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยนำทฤษฎีและหลักการของการจัดการห่วงโซ่อุปทานนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2  ประเมินผลทักษะการนำหลักการจัดการโซ่อุปทานมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์อุตสาหกรรมและธุรกิจได้
2.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน


 
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของธุรกิจ โดยนำหลักการและทฤษฎีของโซ่อุปทานที่ได้เรียนมา และนำไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2พัฒนาความสามารถการแก้ปัญหาของธุรกิจ โดยนำหลักการและทฤษฎีโซ่อุปทานมาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม
3.1.3 พัฒนาการใฝ่หาความรู้ 3.2 วิธีการสอน
3.2.1  มีการมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา บทความ ของการจัดการโซ่อุปทาน การทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์
3.2.2จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญวิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติกับภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ โดยนำหลักการ การจัดการโซ่อุปทาน มาใช้อย่างเหมาะสมพร้อมทั้งแก้ปัญหาในภาคธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ
3.2.3  มอบหมายงานการสืบค้นข้อมูลจากตำรา เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับระบบการขนถ่ายวัสดุ ให้มีการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการเพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
3.2.1  มีการมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา บทความ ของการจัดการโซ่อุปทาน การทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์
3.2.2จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญวิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติกับภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ โดยนำหลักการ การจัดการโซ่อุปทาน มาใช้อย่างเหมาะสมพร้อมทั้งแก้ปัญหาในภาคธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ
3.2.3  มอบหมายงานการสืบค้นข้อมูลจากตำรา เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับระบบการขนถ่ายวัสดุ ให้มีการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการเพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
3.3.1  สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้หลักการ และทฤษฎีของโซ่อุปทาน
3.3.2  วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3  ประเมิลผลจากงานที่มอบหมายและการนำเสนอ
4.1.1  พัฒนาให้นักศึกษาสามารถทำงานกลุ่มหรือผู้อื่นได้
4.1.2  พัฒนาให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการฝึกภาคปฏิบัติเป็นกลุ่ม
4.2.2  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1  พัฒนาทักษะการนำเสนอโครงงาน และรายงาน การสื่อสารความหมายโดยในเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.2  พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน
5.1.3 พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.2.1  มอบหมายรายงาน โครงงานหัวข้อพิเศษเกี่ยวกับการวิเคราะห์ธุรกิจ โดยนำหลักของการจัดการโซ่อุปทานมาใช้ และการนำเสนอ
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยให้มีการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 บรรยายและแนะนำหลักการพื้นฐาน แนวคิด ทฤษฎี สำหรับการใช้งานในการวิเคราะห์ประเมินโซ่อุปทาน นำเสนอกรณีศึกษาด้านโซ่อุปทาน
5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยตัวเลข และเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3 ประเมินผลจากการทดสอบ และการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.4  ประเมินจากการนำเสนอบทความและวัดผลจากคำศัพท์
6.1.1 พัฒนาทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา วิธีการปฏิบัติงาน
6.1.2 พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานกลุ่มและการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.2.1  ผู้สอนแนะนำวิธีการนำหลักการโซ่อุทานมาวิเคราะห์ในธุรกิจตัวอย่าง
6.2.2  ควบคุมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาให้มีความถูกต้องตามวิธีการที่กำหนด
6.3.1  บันทึกผลเวลาการปฏิบัติ การใช้เครื่องมือ และประเมินจากรายงาน
6.3.2  ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2,1.3, 1.4,2.1, 2.2, 2.3, 3.1,3.2,3.3,4.4,4.5,5.1, 5.2,5.3, 5.4, 6.1, 6.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 18 5% 30% 5% 30%
2 1.1, 1.2,1.3, 1.4,2.1, 2.2, 2.3, 3.1,3.2,3.3,4.4,4.5,5.1, 5.2,5.3, 5.4, 6.1, 6.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1, 1.2,1.3, 1.4,2.1, 2.2, 2.3, 3.1,3.2,3.3,4.4,4.5,5.1, 5.2,5.3, 5.4, 6.1, 6.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า, นงลักษณ์ นิมิตรภูวดล.การจัดการโลจิสติกส์:มิติซัพพบายเชน.พิมพ์ที่ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), 2455
ผศ.ชัยยนต์ ชิโนกุล.การจัดการโซ่อุปทานและลอจิสติกส์, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพฯ
รศ.ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์, การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลาย,  พิมพ์ที่ เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด, 2550
รศ.ดร.สาธิต พะเนียนทอง.การจัดการโซ่อุปทานเชิงกลยุทธ์.พิมพ์ที่ ซีเอ็ดบุค จำกัด, 2550
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ