การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

Food Product Development

1.1 รู้และเข้าใจกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 1.2 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารได้ถูกต้องเหมาะสม 1.3 มีทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1.1 เพื่อให้เนื้อหาทันสมัย สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน 1.2 นักศึกษานาความรู้และทักษะไปใช้ในการประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์มุ่งเน้นการพัฒนากลุ่มสินค้าอาหารแปรรูปของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ กลุ่มแม่บ้าน /สินค้าโอท้อป นักศึกษาจะได้รู้จักการแก้ปัญหาจากโจทย์ความต้องการของชุมชน ช่วยให้เกิดแนวคิดในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาตนเอง
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย และความสาคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้าง กลั่นกรอง และพัฒนาแนวความคิดผลิตภัณฑ์ การพัฒนาสูตร กรรมวิธีการผลิต และบรรจุภัณฑ์ การทดสอบผู้บริโภค และการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ การคิดต้นทุนการผลิตและจุดคุ้มทุน และการประเมินตลาดผลิตภัณฑ์
2
1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) - การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) - การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) - การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) - การสอนแบบ Problem Based Learning มุ่งเน้นการแก้ปัญหากลุ่มอาชีพแปรรูปอาหาร (เป็นกรณีศึกษา) เพื่อเพิ่มความหลากหลายของสินค้า สร้างโอกาสทางการตลาด เพิ่มรายได้แก่กลุ่ม นักศึกษาเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหาก่อนนามาสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และจึงถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มแปรรูปอาหารเมื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สาเร็จ นักศึกษาจะตระหนักถึงคุณค่าในตนเองที่สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้
 
- โครงการกลุ่ม - การสังเกต - การนาเสนองาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) - การสอนแบบการตั้งคาถาม (Questioning) - การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
- งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - โครงการกลุ่ม - การสัมภาษณ์ - การนาเสนองาน - ข้อสอบอัตนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) - การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) - การสอนแบบ Problem Based Learning - การสอนแบบบรรยาย
- ศึกษาดูงานนอกสถานที่ - งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - โครงการกลุ่ม - การนาเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) - การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) - การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) - การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
- โครงการกลุ่ม - การสังเกต - การนาเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศใน
ใช้ Power point มีการนาเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนาเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนาเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
- การสังเกต - การวิเคราะห์ผลการทดลองโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป - การนาเสนองาน
6.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
- การสังเกต - การนาเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 4 1 2 3 1 2 3 1 2
1 24128301 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.4, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 5.1.1 มอบหมายงาน และประเมินจากงานมอบหมาย 6, 9, 10, 13, 15,16 10%
2 1.1.4, 1.1.5, 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2 นาเสนอรายงานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา 2, 5, 15, 16 10%
3 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 , 5.1.1 พฤติกรรมต่างๆ เช่นระเบียบ-วินัย การร่วมอภิปราย เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 10%
4 6.1.1, 6.1.2 ทดสอบการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ 15 10%
5 2.1.1, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบย่อย 4, 7, 11, 14 20%
6 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 สอบกลางภาค 9 20%
7 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 สอบปลายภาค 17 20%
ตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน 1) ไพโรจน์ วิริยจารี. 2545. หลักการทางเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2) วิวัฒน์ หวังเจริญ. 2541. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. ภาควิชาเทคโนโลยีทางการอาหาร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น - มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน http://app.tisi.go.th/otop/standard/standards.html - ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารชนิดต่างๆ http://www.nal.usda.gov/fnic/foodcomp/search/ - วิดีโอสอนเทคนิคและวิธีการแปรรูปอาหารต่างๆ เช่น http://www.bakewithheart.blogspot.com/ , www.youtube.com - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ หรือนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น - มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน http://app.tisi.go.th/otop/standard/standards.html - ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารชนิดต่างๆ http://www.nal.usda.gov/fnic/foodcomp/search/ - วิดีโอสอนเทคนิคและวิธีการแปรรูปอาหารต่างๆ เช่น http://www.bakewithheart.blogspot.com/ , www.youtube.com - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ หรือนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง